บ้านสำหรับทุกคนไม่ว่าจะบ้านขนาดเล็ก หรือใหญ่และ สัมมนานายหน้า ทุกคนต่างก็อยากที่จะให้บ้านของตนอยู่แล้วอบอุ่น ทุกคนในบ้านประสบแต่ความสุข ความเจริญ ความรุ่งเรือง
ถ้าบ้านที่อยู่มีความสุขสบายดีแล้ว ก็ไม่จำเป็นต้องปรับเปลี่ยนอะไร
นอกจากเราจะรู้สึกมีเคราะห์ร้าย ไม่มีความสุข จึงค่อยปรับเปลี่ยน
ตามหลักฮวงจุ้ย
การจัดบ้านตามหลักวิชาฮวงจุ้ยไม่ใช่เรื่องงมงายและไร้เหตุผลและ สัมมนานายหน้า เพราะหลักฮวงจุ้ยสามารถอธิบายได้ด้วยหลักวิทยาศาสตร์ และมีการคำนึงถึงเรื่องของภูมิอากาศและพื้นที่เป็นอย่างดี มิใช่เป็นเรื่องเร้นลับทางไสยศาสตร์แต่อย่างใด
เรามาดูการจัดตามหลักฮวงจุ้ยกันเลย
ห้องรับแขกหรือห้องนั่งเล่น
เป็นเสมือนหัวใจของบ้าน ความมั่งมีศรีสุขจะเกิดขึ้นได้
ถ้ามีการจัดและตกแต่งให้ถูกลักษณะอันเป็นมงคล
1. ถ้าบ้านมีอาณาเขตบริเวณพอเพียงควรสร้างเรือนรับแขกไว้ทางทิศตะวันตกของบ้าน อาจสร้างแบบมีทางเดินเป็นระเบียบทอดจากตัวบ้านไปสู่เรือนรับแขกหรือห้องรับแขก เพราะถือว่าเป็นมหามงคลส่งผลต่อความรุ่งโรจน์โชติช่วงได้ดีเยี่ยม
2. หากพื้นที่ภายในบ้านของคุณค่อนข้างคับแคบหรือสำหรับผู้ที่อาศัยอยู่ในอพาร์ตเมนต์ วิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุดคือนำกระจกเงาบานใหญ่มาติดเอาไว้ที่ผนังด้านใดด้านหนึ่ง ห้องรับแขกจะมองดูกว้างขึ้นมาอย่างทันตาเห็น
3. ห้องโถงหรือห้องรับแขกที่คับแคบเป็นลักษณะที่อาจจะทำให้คนในบ้านประสบความสำเร็จในชีวิตได้ยากเพราะโชคลาภนั้นจะไหลเข้าบ้านได้ไม่สะดวก ควรตกแต่งมุมรับแขกให้ดูสะอาดและมีพื้นที่เดินได้คล่อง เงินทองจะไหลเข้ามาได้ง่าย
4. ห้องรับแขกควรเป็นสิ่งแรกที่พบเห็นหลังจากที่เปิดประตูบ้านเข้ามาแล้ว ดังนั้นจึงควรดูแลห้องรับแขกให้สะอาดสะอ้าน มีชีวิตชีวา อากาศสามารถถ่ายเทได้สะดวก และมีแสงสว่างเพียงพอ เพราะห้องรับแขกเป็นห้องที่สำคัญมาก ห้องรับแขกที่สว่างไสวดูโปร่งสบายตา จะมีผลต่อความสุขสงบภายในบ้านและโชคลาภก็จะเข้าบ้าน
5. ในห้องรับแขกของบ้านจะต้องมีคำแหน่งของจุดทรัพย์คือ มุมแห่งโชคลาภของบ้าน ซึ่งจะอยู่ตรงจุดที่ทแยงมุมกับประตูและค่อนข้างสงบไม่มีผู้คนเดินพลุกพล่านตรงนั้น ถ้านำสิ่งของที่เป็นของมงคลมาวางเอาไว้ที่ตำแหน่งนี้ก็จะช่วยให้โชคลาภและความเจริญรุ่งเรือง
6. ห้องรับแขกควรอยู่ตรงกลางบ้านพอดีจึงจะถือได้ว่าเป็นบ้านที่มีลักษณะดีเพราะบ้านที่มีห้องรับแขกอยู่ตรงกลางของบ้านนั้นจะเหมือนเป็นการต้อนรับโชคลาภให้เข้ามาในบ้าน และที่สำคัญคือห้องรับแขกที่อยู่ตรงกลางบ้านจะเปรียบเหมือนหัวใจของบ้าน แต่ถ้าไม่มีพื้นที่มากนักก็จัดให้อยู่หน้าบ้านก็ได้แต่อย่าจัดไว้เกินกลางตัวบ้านไปทางด้านหลังบ้าน
7. หน้าต่างของห้องรับแขกควรจะหันไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ เพราะทิศตะวันออกเฉียงใต้นี้จะมีแสงสว่างเพียงพอตลอดทั้งวัน อากาศถ่ายเทได้สะดวก ฤดูหนาวจะไม่หนาวจนเกินไป ฤดูร้อนก็จะไม่ร้อนมากนักส่งผลให้สมาชิกภายในบ้านมีสุขภาพทั้งกายและใจดีเยี่ยม และที่สำคัญถือเป็นทิศมงคลสำหรับตัวบ้าน
8. จัดแต่งห้องรับแขกให้มีพื้นที่กว้างขวางโปร่งตา อย่าวางเฟอร์นิเจอร์ขวางทางเดินหรือขวางประตูทางเข้าห้องรับแขกที่วางชุดเก้าอี้เกะกะทางเดินจะทำให้อับโชค
9. หน้าต่างของห้องรับแขกนั้นควรจะเปิดออกไปสู่ที่โล่งแจ้ง เช่น สนามหญ้าหรือสวนสวยของบ้าน ไม่ควรจะถูกบ้านใกล้เคียงบดบังทัศนียภาพเอาไว้ เพราะตามหลักฮวงจุ้ยแล้ว การที่หน้าต่างของห้องรับแขกถูกบ้านใกล้เรือนเคียงบดบังทัศนียภาพที่ดีเอาไว้จะกลายเป็นห้องรับแขกที่มีลักษณะไม่ดี และส่งผลให้สมาชิกภายในบ้านต้องประสบเหตุเดือดเนื้อร้อนใจ
10. ห้องรับแขกควรจัดให้อยู่ด้านหน้าสุด คือเมื่อแขกมาเยือนเปิดประตูเข้ามาก็พบกับห้องรับแขกก่อนเป็นอันดับแรก ในปัจจุบันที่คนเราอาศัยอยู่ในอพาร์ตเมนต์หรือคอนโดมิเนียมกันมากและทีม นายหน้าอิสระ อสังหา ควรจัดแบบแยกส่วนหน้ากับส่วนหลังออกจากกันเช่นหาตู้หรือชั้นวางของมากั้นแล้วจัดส่วนหน้าเพื่อรับแขก และส่วนหลังเป็นห้องนอน ไม่ควรจัดห้องนอนอยู่ด้านหน้าเพราะเป็นลักษณะของห้องที่ทำลายโชคลาภทรัพย์สิน
11. ห้องรับแขกที่จัดตกแต่งได้ถูกต้องนั้นคือทีม นายหน้าอิสระ อสังหา ห้องรับแขกที่มีสิ่งของที่จำเป็นจะต้องใช้วางอยู่อย่างครบถ้วน และถูกจัดวางอย่างเป็นระเบียบเรียบร้อยไม่วางเกะกะขวางทาง สิ่งของที่ประดับประดาควรจะจัดวางอย่างพอเหมาะให้ดูโปร่ง ๆ เพื่อที่พลังที่ดีจะได้ไหลเวียนเข้าบ้านได้สะดวก
สัมมนานายหน้า
สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง
* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *