ทำการตลาดออนไลน์ ด้วย 7 ขั้นปั้นอันดับ Website Content Marketing คือที่สุดของมืออาชีพยุคนี้

ทำการตลาดออนไลน์ ด้วย 7 ขั้นปั้นอันดับ Website Content Marketing คือที่สุดของมืออาชีพยุคนี้

ท่ามกลางความแข่งขันของเนื้อหาข้อมูลโดย 7 ขั้นปั้นอันดับ Website ที่วิ่งผ่านชีวิตคนอย่างมากมายมหาศาล ในยุคข่าวสารข้อมูล (Information age) ยากที่เราจะเปิดดูทุกฟีดข่าวได้หมด Facebook จึงนำเสนอแต่ข้อมูลเพื่อน และหน้าเพจที่เราให้ความสนใจและปฏิสัมพันธ์ด้วยก่อนเป็นอันดับแรก เพื่อให้ประสบการณ์การใช้งานเฟสบุ๊คของเรา เจอแต่เรื่องที่ท่านชอบนั่นเอง

แล้วคนทำธุรกิจออนไลน์ล่ะ จะทำอย่างไรถึงจะแทรกเนื้อหาของเขาไปยังหน้าเฟสบุ๊คฟีดของคนอ่านคนฟังได้ ก่อนอื่นท่านต้องเรียนรู้ 7 ขั้นปั้นอันดับ Website ด้วยวิธี ” ถูกใจ แชร์ แทค พลังในมือของผู้อ่านในโลกออนไลน์ “

7 ขั้นปั้นอันดับ Website

การจ่ายโฆษณาเพียงอย่างเดียว ไม่ส่งผลดีกับธุรกิจออนไลน์ SME

อย่างที่กล่าวไว้ในบทความที่แล้วว่า การทำ โฆษณา ด้วยการซื้อ เฟสบุ๊คแอด นั้นจะทำให้คุณสูญเสียเงินมหาศาลไปกับการทำให้คนจดจำและรู้จัก (Awareness) และจะสูญเสียงบโฆษณาไปกับ Facebook Ads และ Adwords มากมาย คุณจะได้แต่คนเข้าชมในราคาแพง ไม่มีคนซื้อ ไม่มีใครช่วยแชร์เรื่องราวหรือสินค้าของคุณเลย เปรียบได้กับคุณไม่ได้เช่าเครื่องมือที่เฟสบุ๊คนั้นจัดสรรให้ หรือเครื่องทุนแรงในโลก Social อย่างมีประโยชน์เต็มสมรถณะของมัน มากนัก เพราะคุณไม่เน้นที่การตลาดเนื้อหา (Content Marketing) ตั้งแต่แรก

TIP:เราอาจใช้วิธีการที่เรียกว่า การวัดยอดขาย (Conversion) กับสินค้าของเรา แต่จะดีกว่าถ้าเราทดลองตลาดด้วย Adwords และสร้างความน่าเชื่อถือ การจดจำที่ดีก่อนผ่าน Content Marketing

เนื้อหาดีจะอยู่ได้นานด้วย SEO

เนื้อหาดีมีคนแชร์และบอกต่อ จะสามารถอยู่อย่างยั่งยืนยาวนานนับปี เมื่อนำมาผนวกกับ SEO เสมือนเป็นยาอายุวัฒนะให้เนื้อหาแบบนั้นเลย นั้นก็เพราะ SEO คือการโปรโมทผ่าน Google Search โดยอาศัยหลัก SEO ช่วย

ถ้าเรามีเนื้อหาดีอยู่แล้ว แต่ไม่ได้ผนวกกับ SEO เราจะสูญเสียตำแหน่งที่ดีใน Google เนื้อหาข้อมูลที่ดีของเราจะถูกแชร์และบอกต่อในโลก Social ในช่วงแรกจริง แต่ในระยะยาวเนื้อหาของเราจะมีคนเข้าชมน้อยลงเรื่อยๆหากไม่ติดอันดับใน Google ครับ และ SEO คือคำตอบของการชุบชีวิตเนื้อหาให้เปร่งประกายทุกยุคสมัยตราบเท่าที่ Google Search ยังคงอยู่

ถูกใจ แชร์ แท็ก พลังในมือของผู้อ่านในโลกออนไลน์

พลังของการเผยแพร่อยู่ในมือของคนอ่าน เราไม่สามารถบังคับคนอ่านให้ติดตาม ถูกใจ หรือแชร์ได้ ยกเว้นแต่เรามีอะไรบางอย่างไปแลก เช่น รางวัลที่หลายๆเพจมักทำกัน, การให้คุณค่าแก่คนอ่านหลังอ่านจบ, ภาพที่สื่อความหมาย หรือ วีดีโอที่เข้าถึงอารมณ์ จนยากที่ผู้ชมจะหยุดใจไม่ให้แชร์ต่อ

การเขียนบทความที่ดี, การถ่ายรูปที่สวย, และการทำวีดีโอที่คนชอบ ไม่ใช่ทักษะพื้นฐานที่ติดตัวมาแต่กำเนิด มันเป็นทักษะที่ฝึกระหว่างทาง หากเราไม่ใส่ใจตรงจุดนี้ ก็ยากที่จะสร้างเนื้อหาที่ดีให้คนชอบได้ แต่ในทางตรงกันข้ามเมื่อเราทำได้แล้ว จะสนุกและทำได้ต่อเรื่อยๆไม่จบ จนเสมือนเป็นส่วนหนึ่งในการทำการตลาดผ่าน Content Marketing ที่ทรงคุณค่าทีเดียว

เนื้อหาที่ดี มีคนแชร์มากมายใน Social Media ก็มีวันดับตาลกาลเวลา แต่เราสามารถชุบชีวิตมันให้ยังคงอยู่ถาวรเป็นอมตะได้ ให้เป็นประโยชน์กับคนอ่านรุ่นต่อๆไปด้วย SEO

ตัวอย่างแบรนด์ GTH ที่ใช้ Content Marketing

ตัวอย่างมีมากมายในต่างประเทศและประเทศไทย กระจายอยู่ในทุกๆธุรกิจ แอดมินขอยกตัวอย่างธุรกิจในเครือภาพยนตร์อย่าง GTH ที่หยิบการตลาดผ่าน Content มาสร้างเรื่องราวของหนัง  ให้คนชม คนชอบ คนแชร์ใน Social Media ก่อนที่หนังจะฉายจริงเสียอีกครั้ง

การตลาดออนไลน์ ด้วย Content Marketing ไม่ต้องใช้คนมาก แค่คุณ คนเดียวก็ทำได้

เว็บ สอน การ ตลาด ออนไลน์   อยากให้รู้ว่า หมดยุคการแปะสรรพคุณสินค้าลงในเว็บเพียงอย่างเดียวได้แล้ว เพราะแฟนเพจและเว็บไซต์ของเราจะร้างได้ หากไม่มีเนื้อหาดีๆภายในเว็บไซต์หรือ Fanpage เลย นั้นก็เพราะ ทั้ง Google และ Facebook ต่างเห็นพ้องในทิศทางเดียวกันคือ เขาจะนำเสนอข้อมูลที่ดีให้ถึงคนอ่านเท่านั้น และพยายามกีดกันเนื้อหาที่ไม่เหมาะสม หรือไม่ค่อยมีประโยชน์ออกไป แต่จะเว้นที่ว่างไว้สำหรับการจ่ายโฆษณา

การตลาดออนไลน์ ด้วย Content Marketing เผยแพร่ผ่าน Blog และ Social Medila สามารถทำได้ด้วยเพียง 1 คน และใช้เวลา 2-3 ชั่วโมงต่อวันในการสร้างเนื้อหาพร้อมๆกับโปรโมทสินค้าและบริการของท่านไปในตัว ยกตัวอย่างใกล้สุด คือเว็บไซต์ thetrainerthailand แห่งนี้

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *