จัดดอกไม้ จุดเทียนหอม โดยทีม นายหน้าอสังหา เทคนิคจัดบ้านมัดใจสามีของ “เอมมี่ มรกต”

จัดดอกไม้ จุดเทียนหอม โดยทีม นายหน้าอสังหา เทคนิคจัดบ้านมัดใจสามีของ “เอมมี่ มรกต”

ถ้าใครเคยได้ฟังเรื่องราวความรักระหว่างคุณเอมมี่ แบบทีม นายหน้าอสังหา มรกต กิตติสาระ กับสามีคุณเจมส์ จิรายุทธ แสงทวีป นักธุรกิจหนุ่มสุดเท่ จะรู้เลยว่าทั้งคู่รักกันหวานฉ่ำ แม้จะคบกันมานานและแต่งงานกันแล้ว แต่ดูเหมือนความหวานของทั้งคู่ก็ไม่มีทีท่าจะลดลงเลย

ยิ่งเมื่อมาใช้ชีวิตคู่ร่วมกันในเรือนหอสุดหรู ที่คุณเอมมี่มักจะโพสต์ภาพลงในไอจีส่วนตัวบ่อยพร้อมใส่ สังเกตได้เลยว่านั่นคือเรือนหอหรือบ้านของทั้งคู่ และถ้าสังเกตดีๆ จะเห็นว่าสิ่งหนึ่งที่คุณเอมมี่ศรีภรรยาชอบทำเสมอคือการจัดแจกันดอกไม้สด และการจุดเทียน โดยเธอเคยพูดไว้ในรายการ 3 แซ่บ (วันอาทิตย์ที่ 21 มกราคม 2561) ว่าการจัดดอกไม้หรือจุดเทียนในบ้านนั้นเป็นเหมือนจิตวิทยา ทำให้เมื่อสามีกลับมาถึงบ้านแล้วรู้สึกสดชื่น ผ่อนคลาย หายเหนื่อยหลังจากทำงานเหนื่อยล้ามาทั้งวัน ความจริงแล้วการจัดดอกไม้หรือการจุดเทียนภายในบ้านนั้นช่วยเรื่องทางอารมณ์และจิตใจได้จริงๆ หรือเปล่า นายหน้าอสังหา มีคำตอบ

การจัดดอกไม้นอกจากจะทำให้ผู้จัดได้ฝึกสมาธิแล้วการจัดดอกไม้ยังช่วยฝึกทักษะการวางสมดุลชีวิต ผ่านช่อดอกไม้ในสไตล์อย่างที่ผู้จัดเป็น นอกจากนี้การจัดดอกไม้ยังช่วยทำให้ผู้จัดคลายเครียด มีสมาธิ ได้อยู่กับสิ่งสวยๆ งามๆ และยังทำให้ใจเย็นลง ลดอาการฉุนเฉียว ทำให้เป็นคนคิดบวก และช่วยให้เราใกล้ชิดธรรมชาติมากยิ่งขึ้น สำหรับเทคนิคการจัดดอกไม้อย่างไรให้ในบ้านดูดีมีระดับนั้นก็มีหลักการง่ายอยู่ 5 ข้อได้แก่
1.เลือกดอกไม้ที่สีสวยมาจัดแจกันเท่านั้น การเลือกดอกไม้มาจัดแจกันก็เหมือนการเลือกเสื้อผ้ามาสวมใส่ เราควรเลือกสีที่สวยเท่านั้นมาใช้ แนะนำให้มีสีดอกไม้ไม่เกิน 3 สีภายในแจกันเดียวกัน โดย 2 สีควรเป็นสีที่เข้ากัน ส่วนอีกสีหนึ่งควรเป็นสีที่มีโทนอ่อนลงมา

2.ไม่จำเป็นต้องใช้ดอกไม้หลายชนิดมาจัด เราควรเลือกดอกไม้ไม่เกิน 4 ชนิดมาจัด แต่เน้นจำนวนดอกให้มากอยู่สักหน่อย เพราะถ้าใช้ดอกไม้หลายชนิดจนเกินไปอาจทำให้แจกันนั้นดูรกเกินงาม โดยเฉพาะถ้าบ้านคุณเป็นบ้านสไตล์เรียบหรูด้วยแล้วละก็ ไม่ควรใช้ดอกไม้หลายประเภท สำหรับแจกันนั้นก็ควรเลือกขนาดที่พอเหมาะพอดีกับจำนวนดอกไม้ และไม่ควรใส่ดอกไม้จนแน่นแจกัน
3.เลือกขนาดดอกไม้ให้เหมาะสม การเลือกขนาดดอกไม้เป็นเรื่องสำคัญ ควรเลือกดอกไม้ให้มีทั้งขนาดใหญ่และขนาดเล็ก ควรใช้ดอกไม้ขนาดใหญ่มาเป็นดอกหลัก ส่วนดอกเล็กๆ เป็นส่วนเสริม
4.อย่าลืมแซมด้วยใบไม้สีเขียว การเลือกใช้ดอกไม้เพียงอย่างเดียวอาจไม่ทำให้แจกันดอกไม้นั้นครบองค์ประกอบ ดังนั้นควรมีใบไม้สีเขียวมาแซมเพื่อทำให้แจกันดอกไม้นั้นลงตัว

5.ควรมีทั้งดอกบานและดอกตูมในแจกันเดียวกัน ไม่ใช่เพียงดอกไม้บานจะทำให้แจกันสวย แต่ดอกตูมก็ช่วยเติมมิติให้กับแจกันได้เช่นเดียวกัน ดังนั้นเวลาจัดดอกไม้ควรเลือกทั้งดอกตูมและดอกบานมาจัดตกแต่ง
สำหรับการจุดเทียนในบ้านนั้นนอกจากจะเป็นการสร้างบรรยากาศภายในสถานที่พักผ่อนให้เจ้าของบ้านรู้สึกผ่อนคลายแล้ว กลิ่นของเทียนบางกลิ่นยังช่วยกำจัดกลิ่นไม่พึงประสงค์ภายในสถานที่นั้นๆ ด้วย ซึ่งกลิ่นต่างๆ ของเทียนก็ให้สรรพคุณที่แตกต่างกัน บางคนอาจเลือกกลิ่นที่ช่วยทำให้รู้สึกผ่อนคลาย หรือบางทีกลิ่นเทียนก็ช่วยทำให้เราตื่นตัว สดชื่น กระปรี้กระเปร่าอยู่เสมอ โดยวิธีเลือกกลิ่นให้เหมาะกับห้องต่างๆ นั้นก็เป็นเรื่องสำคัญ

1.ห้องนอน เราควรเลือกกลิ่นที่ทำให้หลับสบายเช่น กลิ่นวนิลา กลิ่นที่มีส่วนผสมของดอกไม้ เพราะกลิ่นหอมของดอกไม้จะช่วยทำให้เรารู้สึกผ่อนคลาย
2.ห้องทำงาน ควรเลือกกลิ่นที่ทำให้รู้สึกสดชื่น มีชีวิตชีวา กลิ่นที่แนะนำควรเป็นกลิ่นที่มีส่วนผสมของผลไม้เพราะจะช่วยทำให้เรารีสตาร์ทอารมณ์การทำงานได้อีกครั้ง
3.ห้องนั่งเล่น เป็นห้องที่เราควรเลือกกลิ่นที่ให้ความรู้สึกผ่อนคลาย สงบ และคลายความกังวล

4.ห้องน้ำ ควรเลือกเป็นกลิ่นที่ทำให้รู้สึกตื่นตัวและสดชื่น

5.ห้องครัว โดยทีม อบรมนายหน้า กลิ่นประเภทจันทน์แปดแฉกที่ค่อนข้างมีกลิ่นแรงก็สามารถใช้ดับกลิ่นในห้องครัวได้

ดังนั้นการเติมเสน่ห์ให้กับบ้านหรือสถานที่พักผ่อนนั้นถือเป็นเรื่องที่สำคัญที่จะเปลี่ยนบ้านธรรมดา โดยทีม อบรมนายหน้า ห้องเดิมๆ ให้กลายเป็นห้องที่มีบรรยากาศใหม่ๆ อยู่เสมอ นี่จึงเป็นอีกเทคนิคการสร้างบรรยากาศในบ้าน รวมไปถึงเป็นการทำให้คนใกล้ชิดรู้สึกดี

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *