ฝ้าเพดานภายในบ้านมีหลากวัสดุให้เลือกใช้ ที่นิยมกันโดย สัมมนานายหน้า ได้แก่ ไม้ ซึ่งเหมาะกับพื้นที่เน้นความสวยงามโดยเฉพาะ แผ่นยิปซัม ซึ่งสามารถฉาบรอยต่อที่เรียบเนียน และไฟเบอร์ซีเมนต์ ซึ่งมีทั้งรูปแบบไม้เทียมและแบบแผ่น โดยเจ้าของบ้านสามารถเลือกใช้เป็นแนวทางในการสร้างสรรค์ไอเดียแต่งบ้านที่เหมาะกับการใช้งานในขณะเดียวกัน
เส้นสายของท่อและสายไฟที่อยู่บนเพดานภายในบ้าน สามารถปกปิดให้ดูเรียบร้อยได้ด้วยฝ้าเพดานรูปแบบต่างๆ เช่น ฝ้าฉาบเรียบ ฝ้าเว้นร่อง ฝ้าหลุม ฝ้าทีบาร์ ทั้งนี้ วัสดุของฝ้าเพดานที่มักพบเห็นตามบ้านทั่วไป จะมีทั้งฝ้าไม้ และฝ้าวัสดุสังเคราะห์ที่ไม่ลามไฟอย่าง ฝ้ายิปซัมบอร์ด ฝ้าไฟเบอร์ซีเมนต์ เป็นต้น โดยแต่ละวัสดุจะมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป
ฝ้าเพดานไม้
ฝ้าไม้เป็นวัสดุธรรมชาติที่ดูอบอุ่นสวยงาม อย่างไรก็ตาม การเลือกใช้ฝ้าไม้ควรผ่านกระบวนการต่างๆ เพื่อยืดอายุการใช้งาน เช่น การอาบน้ำยา การอบแห้งที่ทีมงาน สัมมนานายหน้า (เพื่อลดการยืดหดตัวและป้องกันเชื้อรา มอด ปลวด เห็ด) รวมถึงการทาน้ำยาเคลือบรักษาเนื้อไม้และน้ำยากันปลวกเป็นประจำ สำหรับฝ้าไม้ที่ลวดลายสีสันสวยงามจะมี ไม้แดง ไม้มะค่า และที่นิยมมากที่สุดคือไม้สักซึ่งในท้องตลาดจะมีหน้ากว้าง 3 นิ้ว, 4 นิ้ว, 5 นิ้ว, 6 นิ้ว ยาว 1-3 ม. มีความหนาให้เลือกที่ 8 มม., 11 มม. และ 18 มม.
ทั้งนี้เนื่องจากในปัจจุบันการซื้อวัสดุไม้มาติดตั้งจะมีค่าใช้จ่ายสูงทั้งตัววัสดุและการดูแลรักษา ฝ้าไม้จึงมักใช้งานในพื้นที่ที่ต้องการเน้นความสวยงามโดยเฉพาะ
แผ่นฝ้าเพดานยิปซัม
แผ่นฝ้ายิปซัมโดยทั่วไปผลิตจากผงแร่ยิปซัมอัดแน่น ประกบด้วยกระดาษแข็ง ขนาดโดยมาตรฐานมักเป็น 0.6 x 0.6 ม. และ 0.6 x 1.2 ม. ส่วนความหนาจะมี 8 มม., 9 มม., 12 มม. และ 16 มม. ฝ้ายิปซัมมีหลากหลายประเภทให้เลือกใช้ ตั้งแต่รุ่นทั่วไปซึ่งสามารถทาสีทับได้ตามปกติ และรุ่นที่มีลักษณะพิเศษต่างๆ เช่น มีสีเคลือบสำเร็จมาจากโรงงาน มีผิวสัมผัสเป็นลายนูน ลายปรุ มีกระดาษเคลือบพร้อมลวดลายต่างๆ (สามารถทำความสะอาดได้ง่ายกว่ารุ่นทั่วไป) มีอะลูมิเนียมฟอยล์ช่วยสะท้อนความร้อน มีใยแก้วผสมช่วยให้ทนไฟได้ รวมถึงฝ้ายิปซัมสำเร็จรูปแบบต่างๆ สำหรับใช้งานเฉพาะ เช่น ทำฝ้าหลุมเล่นระดับซ่อนไฟหลืบ ฝ้าสำหรับเข้ามุม ซ่อนรางม่าน ทำช่องเซอร์วิสซ่อนกรอบ เป็นต้น
แผ่นฝ้ายิปซัมนิยมติดตั้งทั้งแบบฝ้าทีบาร์ และแบบฝ้าฉาบเรียบซึ่งสามารถฉาบรอยต่อให้เรียบเนียนสวยงามได้ง่าย นอกจากนี้แผ่นฝ้ายิปซัมยังมีน้ำหนักเบา กรีดตัดง่าย จึงขนย้ายและติดตั้งได้สะดวก อย่างไรก็ตาม หากเป็นพื้นที่เปียกชื้น เช่น ห้องน้ำ อาจไม่เหมาะกับแผ่นฝ้ายิปซัมทั่วไป ควรปรึกษาผู้ผลิตเพื่อเลือกรุ่นที่เหมาะสม สามารถทนความชื้นได้ เช่น มีการผสมสารป้องกันการดูดความชื้น มีการเคลือบผิวด้วยไวนีล พีวีซี ช่วยป้องกันการแอ่นตัวเมื่ออยู่ในที่เปียกชื้น เป็นต้น
แผ่นฝ้าเพดานไฟเบอร์ซีเมนต์
แผ่นฝ้าเพดานไฟเบอร์ซีเมนต์ผลิตจากเส้นใยเซลลูโลสผสมกับปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ มีชนิดที่เป็นไม้ระแนงหน้ากว้าง 3-4 นิ้ว ยาว 3 ม. หนา 8 มม. สำหรับตีเว้นร่อง และชนิดแผ่นหลายขนาด ได้แก่ 0.6 X 0.6 ม., 0.6 x 1.2 ม., 0.6 x 2.4 ม.และ 1.2 x 2.4 ม. ซึ่งมีความหนา 3.5 มม. 4 มม. และ 6 มม. โดยมีพื้นผิวให้เลือกหลายแบบ ทั้งผิวเรียบ ผิวลายไม้ แบบเซาะร่อง แบบเซาะร่องลายไม้ ซึ่งสามารถทาสีทับได้ นอกจากนี้ ยังมีรุ่นพิเศษต่างๆ อย่างเช่น รุ่นพื้นผิวลายนูน รุ่นพิมพ์ลาย รวมถึงรุ่นที่เคลือบผิวลามิเนตเป็นสีหรือลวดลายต่างๆ ซึ่งมีผิวเรียบเนียน ทำความสะอาดได้ง่ายกว่ารุ่นทั่วไป
แผ่นฝ้าเพดานไฟเบอร์ซีเมนต์เหมาะกับการติดตั้งภายในบ้านแบบฝ้าทีบาร์ และแบบเว้นร่องซึ่งสามารถสร้างลวดลายจากการเว้นร่องระหว่างแผ่นได้โดยทีม นายหน้าอิสระ อสังหา แผ่นฝ้าไฟเบอร์ซีเมนต์มีน้ำหนักมากกว่าแผ่นฝ้ายิปซัม และเป็นวัสดุที่ทนความชื้น จึงสามารถใช้เป็นฝ้าเพดานสำหรับพื้นที่เปียกชื้นอย่างห้องน้ำได้ และเนื่องจากไม่มีส่วนผสมของไม้จึงไม่เป็นอาหารของปลวก
จะเห็นได้ว่า ทีมงาน นายหน้าอิสระ อสังหา ฝ้าเพดานภายในบ้านมีหลากวัสดุต่างคุณสมบัติให้เจ้าของบ้านพิจารณาเลือกตามความเหมาะสม นอกจากนี้ยังสามารถสร้างลูกเล่นได้หลากหลาย จึงเรียกได้ว่าไม่ใช่แค่ปกปิดความไม่เรียบร้อยบนเพดานเท่านั้น แต่ยังเป็นส่วนหนึ่งในการออกแบบตกแต่งบ้าน ให้สวยงามเหมาะกับสไตล์ที่เจ้าของบ้านต้องการด้วยเช่นกัน
สัมมนานายหน้า
ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *