ไอเดียของทีม สัมมนานายหน้าอสังหา  ในการออกแบบบันไดของบ้านให้ดูดี

ไอเดียของทีม สัมมนานายหน้าอสังหา  ในการออกแบบบันไดของบ้านให้ดูดี

บันได

การสร้างบ้านนั้นมีทีม  สัมมนานายหน้าอสังหา  เพื่อให้ใช้พื้นที่ของบ้านให้คุ้มค่าที่สุด แน่นอนว่าคุณก็คงอยากจะมีบ้านที่สูงมากกว่าหนึ่งชั้นแน่นอน พื้นที่เท่าเดิม แต่คุณจะได้พื้นที่ในตัวบ้านมากกว่าเดิมเป็นสองเท่าทันที ดังนั้นบ้านที่มีมากกว่าหนึ่งชั้น ย่อมจะต้องมีบันได การสร้างบันไดนั้นมีหลากหลายรูปแบบมาก อีกทั้งยังต้องคำนึงถึงเรื่องการใช้งานและการเชื่อมต่อสเปซไปสู่ระเบียงและโถงทางเดินที่ต้องใช้งานได้สะดวกอีกด้วย หากบ้านไหนที่มีผู้สูงอายุก็จะต้องระวังเรื่องของความสูง ราวจับที่มั่นคง เรามาดูกันดีกว่าว่าการจะสร้างบันไดนั้น ต้องคำนึงถึงอะไรบ้าง

โครงสร้างบันไดและส่วนประกอบ

โดยทั่วไปแล้วทีม  สัมมนานายหน้าอสังหา  วัสดุที่นำมาใช้ทำบันไดนั้นจะมาจากคอนกรีตเสริมเหล็ก ไม้ หรือเหล็ก และบันไดนั้นประกอบขึ้นมาจากหลายส่วน เรามาทำความรู้จักคำศัพท์ของส่วนประกอบบันไดกัน ลูกตั้งและลูกนอนคือชื่อเรียกของขั้นบันไดแนวดิ่งและแนวราบตามลำดับ แม่บันไดคือโครงสร้างที่เป็นที่รับน้ำหนักของบันได แม่บันไดจะมีเฉพาะในโครงสร้างไม้หรือเหล็ก และพุกบันไดคือจะเป็นส่วนที่ยึดลูกตั้งและลูกนอนไว้กับแม่บันได

รูปแบบของบันได

การสร้างบันไดนั้น เราก็ควรคำนึงเรื่องของความสวยงามด้วย รูปแบบที่เป็นที่นิยมมีด้วยกันหลากหลาย เช่น บันไดท้องเรียบ บันไดพับผ้า บันไดลอย แม่บันไดขนาบข้างชั้นบันไดแบบโปร่งและแบบทึบ และแม่บันไดที่อยู่ใต้ขั้นบันไดแบบโปร่งและทึบ บันไดวน เป็นต้น โดยแต่ละรูปแบบก็จะมีความสวยงามที่ต่างกัน ซึ่งถ้าเป็นบันไดท้องเรียบที่เป็นพื้นฐานมากที่สุดก็จะมีความง่ายในการก่อสร้างมากกว่าแบบอื่น หรือบันไดวนก็จะเหมาะกับบ้านที่มีพื้นที่คับแคบเพราะบันไดวนใช้พื้นที่น้อย แต่ไม่เหมาะกับเด็กเล็กและผู้สูงวัยเนื่องจากพื้นที่เหยียบของแต่ละขั้นจะมีขนาดเล็ก อาจจะเหมาะสำหรับบันไดนอกบ้านซึ่งเป็นบันไดรอง และบันไดแบบพับเก็บได้ ซึ่งเมื่อเราจะใช้งานก็ดึงออกมาจากผ้าเพดาน บันไดแบบพับเก็บได้จะเหมาะสำหรับห้องใต้หลังคาที่เราไม่ได้ใช้เป็นประจำหรือเป็นแค่ที่เก็บของ ราวบันไดก็เป็นสิ่งที่มองข้ามไม่ได้เช่นกันเพราะราวบันไดจะทำให้ตัวบ้านดูสวยงามมากขึ้น เช่น ราวบันไดเหล็กก็จะทำให้บ้านดูเป็นแนวลอฟท์ ราวบันไดโดยมีกระจกกั้นก็จะทำให้บันไดดูกว้างขึ้นและปลอดภัย หรือราวบันไดเหล็กดัดก็จะทำให้บ้านดูลักชัวรี่มากๆเลยทีเดียว

ขนาดของบันไดที่เหมาะสม

ดังที่กล่าวไปข้างต้นว่า บันไดควรจะต้องปรับให้เหมาะสมกับผู้ใช้งาน แต่ถ้าหากเอาตามกฎข้อบังคับของการสร้างบันไดสำหรับบ้าน ขนาดของบันไดควรจะเป็นไปตามนี้ ความกว้างของบันไดต้องไม่น้อยกว่า 80 เซนติเมตร ลูกตั้งไม่สูงเกินกว่า 20 เซนติเมตร ลูกนอนมีขนาดไม่ต่ำกว่า 22 เซนติเมตร พื้นที่หน้าบันไดต้องไม่น้อยกว่าความกว้างของบันได และถ้าความสูงของชั้นมากกว่า 3 เมตร จะต้องมีที่พักบันไดที่ความสูงต่ำกว่า 3 เมตร โดยเช่นเดียวกันคือพื้นที่ที่พักต้องมีความกว้างไม่น้อยกว่าความกว้างของบันได

ตำแหน่งของบันไดในตัวบ้าน

ตามหลักการแล้วไม่มีข้อกำหนดตายตัวว่าบันไดจะต้องอยู่ส่วนไหนของบ้าน ควรจะขึ้นอยู่กับการใช้งานจริงและสถาปนิกผู้ออกแบบบ้านของทีม  เรียนนายหน้าอสังหา  ที่ต้องคำนึงการใช้งานของบันไดทุกจุดในบ้าน  อย่างไรก็ดี สำหรับคนไทยเชื้อสายจีนนั้น เชื่อว่าบันไดคือทางเดินของมังกร จะมีความหมายในศาสตร์ของฮวงจุ้ย จะส่งพลังให้กับบ้านและผู้อยู่อาศัย ปกปักรักษาสมาชิกคนในบ้าน สร้างมงคลให้กับคนในครอบครัว กฎการสร้างบันไดให้ตรงกับหลักฮวงจุ้ยมีดังนี้ บันไดไม่ควรอยู่ตรงกับประตูทางเข้าบ้านและไม่ควรอยู่ในทิศตรง (คือไม่ควรตรงทิศเหนือใต้ออกตกพอดี) ไม่ควรวางบันไดไว้กลางบ้านควรวางไว้ทางซ้ายหรือขวาและไม่ควรอยู่นอกบ้าน ถึงแม้ว่าความสูงของแต่ละชั้นจะไม่มากนักก็ควรจะต้องสร้างชานพักคั่นกลางเอาไว้ สุดท้ายคือจำนวนขั้นของบันไดห้ามเป็นเลขคู่ ซึ่งนี่คือความเชื่อส่วนบุคคล ไม่อาจบอกได้ว่าถูกหรือผิด

ห้องใต้บันได

เมื่อสร้างบันไดเรียบร้อยแล้วก็มิใช่ว่าเราจะใช้ประโยชน์เพิ่มไม่ได้ บริเวณใต้บันไดยังสามารถนำมาทำประโยชน์ต่างๆได้เช่น ที่เก็บของ โดยทีม เรียนนายหน้าอสังหา  อาจจะหาที่กั้นให้มิดชิด มีประตูเปิดปิด หรือจะเป็นมุมทำงานโดยหาโต๊ะมาตั้ง เป็นที่นั่งเล่นสุดชิล โดยหาโซฟากับโต๊ะเล็กๆไว้นั่งหลบมุมจากผู้คนภายนอกได้ หรือจะเป็นแค่มุมโชว์ของตกแต่งบ้านก็สวยไม่แพ้กัน เพียงแต่ว่าบันไดของคุณจะไม่สามารถเป็นแบบโปร่งได้ หรือถ้าอยากได้แบบเท่ๆไปเลย ตัวบันไดเองนั้นก็สามารถแปลงเป็นลิ้นชักได้ ตรงลูกตั้งอาจจะติดมือจับอักเล็กๆไว้ให้สามารถดึงออกมาได้

สัมมนานายหน้าอสังหา

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *