การจัดและตกแต่งบ้านโดยทีม อบรมนายหน้าอสังหา แบบประหยัดพลังงาน

การจัดและตกแต่งบ้านโดยทีม อบรมนายหน้าอสังหา แบบประหยัดพลังงาน

บ้านนอกจากจะปัดกวาดเช็ดถูให้สะอาดแล้ว โดยทีม อบรมนายหน้าอสังหา ยังต้องจัดให้เป็นระเบียบ เพื่อสะดวกในการปฏิบัติงานและอยู่อาศัย บ้านเล็กแต่มีผู้อยู่อาศัยมากยิ่งจำเป็นต้องจัดให้ดี จึงจะทำให้ทุกคนอยู่อาศัยอย่างมีความสุข

การนำสิ่งประดิษฐ์หรือของประดับบ้านมาใช้ประดับตกแต่ง จะเพิ่มความสวยงามและน่าอยู่ยิ่งขึ้น สถานที่ในบ้าน อบรมนายหน้าอสังหา ที่จำเป็นต้องมี คือ ห้องนอนหรือบริเวณที่จัดเป็นที่นอน ที่ปรุงอาหาร หรือห้องครัวและห้องน้ำห้องส้วม บางบ้านมีห้องต่างๆ มากพอสำหรับสมาชิกทุกคน

บางบ้านมีไม่พอจะมีก็เพียงแต่ห้องที่จำเป็น เช่น ห้องนอน ห้องครัว ห้องส้วม ฉะนั้น ในการจัดจึงต้องคำนึงถึงสภาพบ้าน จำนวนคนที่อยู่อาศัย และประโยชน์ใช้สอยที่ต้องการ

การตกแต่งห้องนอน

ห้องนอน และเสนอ อบรมนายหน้าอสังหา เป็นห้องส่วนตัวที่ให้ความรู้สึกสบายที่สุดของบ้าน ใช้พักผ่อนคลายความเครียดและใช้ทำกิจกรรมส่วนตัวอื่น เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลง เป็นต้น

จึงต้องเป็นห้องที่เย็นสบาย อากาศถ่ายเทได้สะดวก ควรอยู่ทางทิศตะวันออกของบ้าน เพื่อแสงแดดจะได้ส่องถึงในตอนเช้า และไม่ร้อนระอุ ในเวลากลางคืน เราจำเป็นต้องรักษาความสะอาด จัดให้น่าอยู่ จะทำให้เรามีสุขภาพที่ดีทั้งทางกายและทางใจ

ปัจจัยที่ควรคำนึงในการจัดตกแต่งห้องนอน

มีความเป็นส่วนตัว ไม่มีเสียงรบกวน ประตูสามารถปิดล็อกด้านในและปิดล็อกด้านนอกเพื่อความเป็นส่วนตัว มีแสงสว่างเพียงพอและอากาศถ่ายเทได้สะดวก เช่น มีหน้าต่าง ช่องระบายอากาศ มีพัดลมหรือเครื่องปรับอากาศ แต่ไม่ควรจัดวางหัวเตียงให้ชิดหน้าต่าง เพราะถ้าได้รับลมมาก ๆ จะทำให้เป็นหวัดได้ง่าย

การใช้สี ห้องนอนเป็นห้องที่สำคัญ การใช้สีที่เหมาะสมจะมีผลดีต่อสุขภาพจิต และความสุขในการพักผ่อน สีของผนังห้องและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดและตกแต่ง ควรใช้สีเย็นเพื่อให้ความรู้สึกเย็นสบาย เช่นสีฟ้า สีเขียว ถ้าห้องแคบให้ใช้สีเหลือง สีส้มอ่อน สีครีมหรือสีฟ้าอ่อน ไม่ควรใช้สีฉูดฉาด

การวงรูปแบบ ห้องนอน โดยทั่วไปจัดเป็น 2 แบบ คือ

1. แบบจัดวางเครื่องนอนบนพื้น จัดวางที่นอนชิดผนังและมุมห้องด้านใดด้านหนึ่ง

2. แบบจัดวางเครื่องนอนบนเตียง จัดวางเตียงนอนชิดผนังด้านใดด้านหนึ่ง หรืออาจตั้งเตียงให้ส่วนหัวเตียงอยู่ชิดผนังด้านข้างค่อนไปทางฝาผนัง เว้นช่องทางเดินด้านข้าง และปลายเตียงไว้ เพื่อให้ปิด – เปิดห้อง หรือเดินได้สะดวก
ในห้องนอนควรมีเครื่องใช้ที่จำเป็น ดังนี้

เครื่องนอน ได้แก่ หมอน หมอนข้าง มุ้ง ผ้าห่ม เตียง ที่นอน และเสื่อ มุ้ง นับว่าจำเป็น มากสำหรับบ้านในชนบท ตู้เสื้อผ้า ใช้สำหรับเก็บเสื้อผ้าที่รีดแล้วและใส่ของใช้ส่วนตัวที่จำเป็น

ถ้าไม่มีตู้ก็ควรใส่ กล่องกระดาษเพื่อความเป็นระเบียบและป้องกันฝุ่นละออง โต๊ะเขียนหนังสือ สำหรับผู้ที่ต้องการอ่านหนังสือ เพื่อการพักผ่อน

ที่วางของ ควรมีไว้เพื่อวางแก้วน้ำ โคมไฟ วิทยุ ราวพาดผ้า ราวพาดผ้าอาจทำด้วยไม้หรือใช้ลวดขึงกับข้างฝา ใช้สำหรับผึ่งผ้า ตะกร้าผ้า ใช้สำหรับใส่เสื้อผ้าที่ใช้แล้ว

ไฟในห้องหรือตะเกียง สำหรับให้แสงสว่าง เครื่องประดับตกแต่งห้อง ควรหาวัสดุที่มีในท้องถิ่นมาประดิษฐ์ เช่น ภาพผนังที่ใส่ซองจดหมาย ฯลฯ

การตกแต่งห้องครัว
ห้องครัว เป็นที่สำหรับประกอบอาหาร ดังนั้นควรอยู่ห่างจากห้องนอนหรือส่วนหลังของบ้านเพื่อไม่ให้มีกลิ่นและเสียงรบกวน มีแสงสว่างเพียงพอ มีอากาศถ่ายเทสะดวก เพื่อช่วยขจัดกลิ่น ห้องครัวเป็นห้องที่ต้องทำความสะอาดอยู่เสมอ ดังนั้นพื้นครัวจึงควรเป็นวัสดุที่ทนทาน ทำความสะอาดได้ง่าย และไม่ลื่น

วิธีการจัดตกแต่ง
การวางรูปแบบ ห้องครัวโดยทั่วไปมีการวางรูปแบบต่าง ๆ ดังนี้

1. การจัดแบบชิดผนังด้านเดียวหรือแบบเส้นตรง นิยมใช้กับบ้านที่มีเนื้อที่จำกัด

2. การจัดวางแบบชิดผนังสองด้าน หรือแบบตัวแอล ใช้กับห้องครัวลักษะแคบและยาว

3. การจัดแบบชิดผนังสามด้าน หรือแบบตัวยู เหมาะสำหรับห้องครัวที่มีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมด้านเท่า

4. การจัดแบบเส้นขนาน ใช้สำหรับห้องครัวที่ประตูอยู่ตรงข้ามกัน 2 ประตู การวางเครื่องเรือนในห้องครัว ควรยึดหลักความสะดวก ปลอดภัย ถูกสุขลักษณะ และทำความสะอาดง่าย

ดังนี้ สีของห้องครัวและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดและตกแต่ง ควรเป็นสีสดใส สว่าง และเย็นเช่น สีเขียวอ่อน สีครีม เป็นต้น วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้จัดและตกแต่งห้องครัว

ควรตกแต่งด้วยภาพติดผนังที่เกี่ยวกับอาหารหรือตะกร้าวางผลไม้หลากสี จัดให้มีที่รองรับขยะหรือเศษอาหาร โต๊ะหรือเคาน์เตอร์สำหรับวางอ่างล้างจานและที่คว่ำจาน

ควรเลือกใช้ชนิดที่ทำจากกระเบื้องหรือสเตนเลส ไม่ควรเลือกใช้ชนิดที่ทำจากไม้ เพราะเมื่อถูกความชื้นระยะหนึ่งอาจขึ้นรา ไม้บวมพอง หรือมีปลวกกัดกิน

การจัดตกแต่งห้องรับแขก
ห้องรับแขกเป็นห้องที่ต้อนรับผู้มาเยี่ยมเยือน ซึ่งจะอยู่ส่วนหน้าของบ้านการจัดและตกแต่งห้องรับแขกควรจัดให้สวยงามและดูสะดวกสบาย

การวางรูปแบบ การจัดห้องรับแขกนิยมจัดเป็น 2 แบบ คือ

1. แบบนั่งพื้น จัดตกแต่งโดยใช้เสื่อหรือพรมปูลาด หรือใช้เบาะรองนั่งหลาย ๆใบอาจมีหมอนอิง หรือหมอนสามเหลี่ยมเพื่อให้นั่งสบายขึ้น และมีโต๊ะเตี้ย ๆ วางตรงกลาง ใช้สำหรับวางสิ่ง ของน้ำดื่ม การจัดแบบนี้ค่อนข้างสะดวก ประหยัด เนื่องจากเครื่องเรือนหาง่าย ราคาไม่แพง

2. แบบนั่งเก้าอี้ มีวิธีการจัดหลายวิธี ได้แก่

1. จัดแบบเส้นตรง โดยจัดเก้าอี้วางเรียงเป็นแถวเดียว ให้เก้าอี้ยาวอยู่ตรงกลางเก้าอี้เดี่ยววางไว้ด้านข้างด้านละตัว และวางโต๊ะรับแขกไว้กลางตรงส่วนหน้าเก้าอี้ยาว การจัดแบบนี้เหมาะสำหรับห้องแคบ หรือมีพื้นที่จำกัด

2. จัดแบบเข้ามุมห้อง โดยจัดวางเก้าอี้ยาวไว้ชิดผนังด้านหนึ่ง เก้าอี้เดี่ยวอีก 1 – 2 ตั้งชิดผนังอีกด้านให้อยู่ในลักษณะเป็นมุมฉาก วางโต๊ะรับแขกไว้ตรงกลาง การจัดแบบนี้ช่วยประหยัดเนื้อที่ได้มาก เหมาะสำหรับห้องขนาดเล็ก

3. จัดลักษณะรูปสี่เหลี่ยม การจัดแบบนี้จะวางเก้าอี้ยาวไว้ชิดผนัง เก้าอี้เดี่ยว 2 ตัว วางไว้ด้านตรงข้าม และมีโต๊ะรับแขกวางอยู่ตรงกลาง

4. จัดแบบตัวยู (U) หรือเข้ามุม 2 มุม การจัดแบบนี้จะวางเก้าอี้ยาวไว้ชิดผนังด้านหนึ่ง และวางเก้าอี้เดี่ยวไว้ด้านข้าง 2 ด้าน ในลักษณะตรงกันข้าม และวางโต๊ะรับแขกไว้ตรงกลางเหมาะสำหรับห้องที่มีลักษณะแคบแต่ยาว

5. จัดแบบวงกลม โดยวางชุดเครื่องเรือนทั้งหมดอยู่ห่างจากผนังจนเกือบกลางห้อง วางเก้าอี้ยาวไว้ด้านหนึ่ง โต๊ะรับแขกไว้ตรงกลาง และวางเก้าอี้เดี่ยวโดยรอบ การจัดแบบนี้เหมาะสำหรับห้องที่มีพื้นที่กว้างมาก

สิ่งที่ควรนำมาใช้จัดตกแต่งห้องรับแขก ได้แก่

1. ชุดรับแขก แบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ ถ้าเป็นแบบนั่งพื้นก็ควรใช้เสื่อหรือพรมปูพื้น ถ้าเป็นแบบนั่งเก้าอี้ ควรเลือกชุดรับแขกที่มีขนาดและรูปแบบที่เหมาะกับห้อง ทำจากวัสดุที่แข็งแรง ทนทาน เช่น ไม้ หวาย ถ้าบุผ้าควรเลือกสีที่กลมกลืนกับสีห้อง

2. ตู้โชว์ เลือกขนาดพอเหมาะกับห้อง ไม่ควรสูงมาก จะทำให้ห้องแลดูทึบ ควรวางชิดผนังไม่ควรวางตู้บังแสงสว่างและทิศทางลม

3. ผ้าม่าน เป็นสิ่งตกแต่งที่ช่วยกรองแสงสว่างในห้องให้ลดลง และช่วยให้ห้องรับแขกดูสวยงามขึ้น การเลือกผ้าม่านมาตกแต่งห้อง ควรเลือกที่มีสีสัน ลวดลายสวยงาม กลมกลืนกับห้อง

4. ภาพ ควรเลือกสีให้เข้ากับเครื่องเรือนและผนังห้อง และควรเลือกภาพวิวธรรมชาติที่ดูแล้วสดชื่น ภาพบุคคล ภาพเขียน หรือปักผ้าด้วยมือที่มีความสวยงาม มีคุณค่

5. สิ่งประดับตกแต่งอื่น ๆ เช่นรูปปั้น เครื่องเซรามิก งานหัตถกรรมพื้นบ้าน ควรเลือกให้มีสี ขนาด รูปทรง เหมาะสมสัมพันธ์กัน การใช้สี ควรเลือกใช้สีที่มองดูแล้วสดชื่น และเลือกใช้สีให้เข้ากับเรื่องเรือนและผนังห้อง สีที่เหมาะสำหรับจัดตกแต่งห้องรับแขก เช่น ชมพูอ่อน ส้มอ่อน จะทำให้รู้สึกสดชื่น

ห้องน้ำห้องส้วม
ห้องน้ำห้องส้วม ใช้สำหรับอาบน้ำ ชำระร่างกายและการขับถ่าย ควรเป็นห้องที่สะอาดและมีประโยชน์ใช้สอยเต็มที่ อาจตั้งอยู่ภายในบ้าน หรือแยกออกไปตั้งอยู่ภายนอกก็ได้ ถ้าอยู่ในบ้าน ควรอยู่บริเวณทิศตะวันตก เพื่อให้แสงแดดช่วงบ่ายส่องสว่างถึงได้ เป็นการฆ่าเชื้อโรคในห้องด้วย

วิธีการตกแต่ง

การวางรูปแบบ ห้องน้ำ ห้องส้วมโดยทั่วไปมักเป็นจะเป็นห้องแคบ พื้นที่ประมาณ 2 – 3 เมตร ภายในแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนเปียก (ส่วนอาบน้ำ) และส่วนแห้ง (ส่วนส้วม) บางแห่งอาจไม่รวมห้องน้ำ ห้องส้วมไว้ด้วยกันแต่จัดแยกเป็นห้องเดี่ยว
การจัดวางเครื่องใช้และสิ่งตกแต่ง

1. เครื่องสุขภัณฑ์ ตั้งไว้ในตำแหน่งที่ใช้ได้สะดวก เช่น อ่างเก็บน้ำ ถังเก็บน้ำ อ่างล้างหน้า
วางไว้ในส่วนอาบน้ำ โถส้วมวางแยกไว้ในส่วนส้วม

2. เครื่องใช้ในการทำความสะอาดร่างกาย จัดวางในที่ที่หยิบใช้ได้สะดวกสบาย ใกล้มือ เช่น กล่องสบู่วางไว้ที่ผนังบริเวณอาบน้ำ และทีม นายหน้าคอนโด ยาสีฟันวางที่ชั้นใกล้อ่างล้างหน้า กระดาษชำระ ถังขยะวางไว้ใกล้โถส้วม ผ้าเช็ดตัวแขวนที่ราวพาดผ้าในส่วนอาบน้ำ เป็นต้น

3. ม่านพลาสติก คิดตั้งที่ประตู ป้องกันไม่ให้น้ำกระเซ็นถูก ซึ่งจะทำให้ชำรุดเร็ว หรือใช้กั้นส่วนอาบน้ำ กับส่วนส้วมให้แยกออกจากกัน

4. สิ่งตกแต่งอื่น ๆ โดยทีม นายหน้าคอนโด เช่น รูปภาพ กระถางไม้แขวน นำไปประดับตกแต่งผนังห้องด้านที่ไม่เปียกน้ำ เพื่อให้เกิดความสดชื่น

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *