12 ต้นผลไม้มงคลโดยทีม สัมมนานายหน้า เสนอควรปลูกไว้ในบ้าน เสริมดวงชะตา เสริมโชคลาภ และผลรับประทาน

12 ต้นผลไม้มงคลโดยทีม สัมมนานายหน้า เสนอควรปลูกไว้ในบ้าน เสริมดวงชะตา เสริมโชคลาภ และผลรับประทาน

นำความรู้คู่บ้านจากทีมงาน สัมมนานายหน้า ที่คนไทยอย่างเราสืบทอดต่อกันมานานหลายชั่วอายุคนมาฝากเพื่อนๆ iHome108 กัน กับต้นผลไม้ ที่นำมาปลูกตามความเชื่อและประโยชน์จากผลของต้นที่ปลูก ยังช่วยเสริมความเป็นสิริมงคลให้กับ เสริมดวงชะตา เสริมโชคลาภ ปลุกพลังชีวิตให้บ้าน เหมาะสมตามประเพณีความเชื่อแต่โบราณ ถ้าเพื่อนๆกำลังหาต้นไม้มาปลูกประดับบ้านอยู่ ลองไอเดีย ต้นผลไม้มงคล กันดีกว่า

1.ขนุน

ความเชื่อคิดว่าจากทีมงาน สัมมนานายหน้า ปลูกแล้วจะมีคนสนับสนุนหรืออุดหนุนจุนเจือ ผลกินได้ แก่นต้นขนุนทำเป็นสีย้อมผ้า เช่น ย้อมจีวรพระที่เรียกกันว่า สีกรัก ทางยาใช้รากแก้ปวดมูกเลือด ท้องร่วง เป็นไข้ ใบใช้ รักษาบาดแผล แนะนำให้ปลูกในทิศ หรดี หรือทิศตะวันตกเฉียงใต้
2. มะขาม

ความเชื่อคนไทยเรานิยมปลูกไว้หน้าบ้าน เพื่อให้คนเกรงขาม ผู้คนจะนิยมยกย่อง และคนในบ้าน ก็จะมีความปลอดภัย เป็นอาหาร สรรพคุณเป็นยาถ่าย แก้หวัด คัดจมูก ท้องผูก จัดว่าเป็นผลไม้เพื่อสุขภาพ มีทั้ง ตามินบี 2 วิตามินเอ ธาตุแคลเซียม ธาตุฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ควรปลูกในทิศประจิม (ทิศตะวันตก)
3.มะยม

ความเชื่อมีว่าเพื่อให้คนนิยม นอกจากนี้ยังเชื่อว่า ปลูกเพื่อป้องกันภูตผีมารบกวน นิยมใช้ใบมะยมทั้งก้านจุ่มน้ำมนต์ประพรมผู้คนและบ้านเรือนเพื่อเป็นสิริมงคล ผลกินได้ ทางยาแก้โรคผิวหนัง ผื่นคัน แก้ไข้ หืด หัด สุกใส ควรปลูกในทิศประจิม (ทิศตะวันตก)
4.พุทรา

ต้นไม้มงคล ประสบความสำเร็จ ช่วยเสริมทรัพย์และโชคลาภ ป้องกันอันตรายจากอาคมไสยศาสตร์ไม่ให้มาทำร้ายคนในบ้านได้ ผลเป็นอาหาร ทางยาแก้ท้องร่วง อาเจียน หวัดคัดจมูก ความเชื่อ ควรปลูกในทิศประจิม (ทิศตะวันตก)
***พุทราปลูกคู่มะยม เพื่อหวังให้ผู้คนนิยมไม่สร่างซา
5.มะม่วง
ความเชื่อนั้นคงเป็นการระลึกถึงสวนอัมพวัน เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าเสด็จไปครั้งพุทธกาล ทำให้ฐานะร่ำรวย มีกินมีใช้ไม่ขัดสน ธุรกิจการงานเจริญรุ่งเรือง จะช่วยขับไล่สิ่งชั่วร้าย คนไม่ดี และเรื่องไม่ดีให้ออกไป ป้องกันคนในบ้านจากอันตรายทั้งปวง เพื่อประโยฃน์ เป็นผลไม้และยาบำรุงกำลัง ยาระบาย ขับปัสสาวะ แก้ท้องร่วง อาเจียน บิด ไอ แก้คันและโรคผิวหนัง เคล็ด ควรปลูกในทิศทิศทักษิณ (ทิศใต้)
6.มะเดื่อ
ในพุทธประวัติ ต้นไม้มงคลประจำทิศเหนือ เชื่อกันว่าเป็นไม้มงคลศักดิ์สิทธิ์ บันทึกไว้ในตำนานชาวฮินดูว่าเป็นไม้มงคล เป็นที่เชื่อถือของชาว ไทย พม่า มอญ มาแต่โบราณ ในสมัยอดีตจะใช้ไม้มะเดื่อทำพระที่นั่งในพระราชพิธีราชาภิเษก ใช้ทำเป็นกระบวยตักน้ำเจิมถวาย และใช้ทำหม้อน้ำสำหรับกษัตริย์ทรงใช้ในพระราชพิธี ผลกินได้ ทางยาแก้ท้องร่วง อาเจียน ห้ามเลือด ล้างแผล แก้ไข้กาฬ ร้อนใน
7.มะตูม

เป็นไม้ศักดิ์สิทธิ์ของฮินดู จะช่วยเสริมดวงให้เจริญก้าวหน้า มีวาสนา มีบารมีปกป้องคุ้มครองจากภัยอันตรายต่าง ๆ วามเชื่อใช้ทำน้ำมนต์สะเดาะเคราะห์ ป้องกันเสนียดจัญไร ขับไล่ภูตผีปีศาจ และใช้ในพิธีพุทธาภิเษกต่างๆ พิธีครอบโขนละคร ยางมะตูมที่ได้จากผลหรือจากเปลือกลำต้นนำมาใช้เป็นกาวติดกระดาษได้ ใบมะตูมอ่อนมาประกอบอาหาร ผลมะตูมดิบนำมาหั่นตากแดดชงเป็นเครื่องดื่ม ผลสุกทานเนื้อเป็นผลไม้ ควรปลูกใน อีสาน หรือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ
8.ต้นฝรั่ง

เสริมความเป็นสิริมงคล บารมี มีความเจริญก้าวหน้าในหน้าที่การงาน เพื่อป้องกันอาคม และเวทมนตร์ต่าง ๆ มีวิตามินซีสูงและมีประโยชน์ต่อร่างกายหลายอย่าง ควรปลูกในทิศ ทิศอุดร (ทิศเหนือ)
9.กล้วย

เป็นต้นไม้มงคลที่ปลูกง่ายต้นไม้ที่อยู่คู่คนไทย หากนำมาปลูกในบ้านจะทำให้ชีวิตราบรื่น สมหวังดังที่ตั้งใจไว้ทุกประการ คิดจะทำอะไรก็ง่าย ช่วยเสริมดวงเรื่องโชคลาภ กล้วยใช้ประโยชน์ได้ทั้งต้นอย่างที่ใครๆทราบดี ควรปลูกในทิศบูรพา (ทิศตะวันออก)
10. ทับทิม

โดยทีม นายหน้าอิสระ อสังหา จะช่วยป้องกันอันตรายจากสิ่งไม่ดีให้พ้นไป มีอำนาจไล่ผีได้ เช่นเดียวกับกิ่งและใบของท้อ ส่วนใบทับทิมเมื่อนำมาพรมน้ำมนต์ให้กับคนในบ้านหลังกลับมาจากงานศพ เป็นสัญลักษณ์ของความอุดมสมบูรณ์
11.ส้ม

จะช่วยให้คนในบ้านอยู่เย็นเป็นสุข รักใคร่สามัคคี มีโชคลาภ ปลอดภัยจากอันตรายทั้งปวง
12.มะกรูด

หลักของทีม นายหน้าอิสระ อสังหา ได้เสนอให้ใช้ในพิธีกรรมการทำน้ำมนต์เพื่อสะเดาะเคราะห์ ผลใช้สระผม ใบใช้ประกอบอาหาร เป็นยาขับลมในลำไส้ ขับระดู แก้ไอ เลือดออกตามไรฟัน แก้ปวดท้อง ควรปลูกในทิศพายัพ (ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ)

สัมมนานายหน้า

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *