เว็บ อบรมอสังหา เลือกซื้อบ้านหรือสร้างบ้าน ควรดูที่ดินว่าถูกหลักฮวงจุ้ยหรือไม่

เว็บ อบรมอสังหา เลือกซื้อบ้านหรือสร้างบ้าน ควรดูที่ดินว่าถูกหลักฮวงจุ้ยหรือไม่

สวัสดีคับเพื่อนๆชาว อบรมอสังหา ทุกคนใครๆก็อยากมีโชคลาภและชะตาชีวิตที่ดีกันทั้งนั้น แต่เดี๋ยวก่อน การตัดสินใจเลือกสร้างบ้านหรือซื้อบ้านเราอาจต้องดูก่อนด้วย

ว่าตามลักษณะของที่ดินที่คุณมีอยู่นั้นเป็นอย่างไร มาดูกันว่าที่ดินที่เรียกว่าทำเลทองนั้นเป็นแบบไหนแล้วดดูอย่างไร ในวันนี้เว็บ อบรมอสังหา จะมาแนะนำให้อ่านกัน

พี่ดิน

1.ที่ดินรูปครึ่งวงกลม

ถือเป็นที่ดินที่ทำให้เจริญก้าวหน้า ร่ำรวย แม้ด้านหนึ่งจะเป็นเส้นตรง แต่เมื่ออีกด้านหนึ่งเป็นวงกลมก็ทำให้เกิดความสมดุล เกิดการไหลเวียนของพลังงานได้แบบไม่มีอะไรติดขัด

2.ที่ดินรูปตัวแอล

เป็นรูปทรงที่มีส่วนที่เป็นมุมฉากหลายด้าน ทำให้เวลาจะใช้ประโยชน์นั้นทำได้ยาก ยิ่งบริเวณที่เป็นมุมแหลมจะทำให้ผู้อยู่อาศัยเกิดความไม่สบายใจ

3.ที่ดินรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส

เป็นรูปทรงที่ดีเพราะมีทุกด้านเท่ากัน เชื่อว่าจะสามารถสร้างบ้าน สาธารณูปโภคได้อย่างง่าย ดังนั้นรูปทรงที่ดินลักษณะนี้จึงทำให้ผู้อยู่อาศัยเจริญรุ่งเรือง และจะทำให้บ้านมีความปลอดภัย มั่นคง

4.ที่ดินรูปสี่เหลี่ยมคางหมู

เนื่องจากที่ดินลักษณะนี้มีมุมแหลมตรงฐานสี่เหลี่ยมคางหมูทำให้เกิดมุมพิฆาตกับชีวิต รวมไปถึงเมื่อต้องการสร้างบ้านยังทำได้ลำบากเพราะอาจเหลือพื้นที่ให้ใช้สอยได้ไม่มาก

ที่ดิน

5.ที่ดินรูปวงกลม

เป็นลักษณะที่ดินที่ดีมาก เนื่องจากไม่มีเหลี่ยมมุมพิฆาต แต่กลับเป็นลักษณะโค้งกลม ซึ่งเอื้อต่อการไหลเวียนของพลังงานอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะเรื่องการทำงาน เมื่อคิดจะสร้างบ้านให้สร้างบ้านไว้ตรงกลางและมีรั้วล้อมรอบ

6.ที่ดินรูปสามเหลี่ยม

ตามหลักฮวงจุ้ยถือว่าที่ดินที่มีเหลี่ยม มุมแหลม จะทำให้เกิดการพิฆาตกับเจ้าของบ้านและคนในบ้าน รวมถึงถ้าคิดจะสร้างบ้านบนที่ดินลักษณะนี้ก็ทำได้ยาก เพราะมันมีมุมทั้งสามด้าน

7.ที่ดินรูปตัวที

ถือเป็นรูปทรงที่ไม่ดีเท่าไรนัก แม้ทางด้านตัวทีแนวตั้งจะจัดว่าดี แต่ถ้าเป็นตัวทีแนวนอนถือว่าเป็นด้านที่ไม่ดีเลย และอาจส่งผลด้านการเงิน

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *