ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีชี้ว่าจากการ เรียน seo ที่ไหน ดี ทำให้โลกกำลังเข้าสู่การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 4 ซึ่งขับเคลื่อนโดยเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์และหุ่นยนต์ ที่สามารถประมวลผลข้อมูลมหาศาลจากอุปกรณ์ที่เชื่อมต่ออินเตอร์เน็ตจำนวนมาก ได้ในเวลาสั้นๆ
ที่การประชุม MIGC หรือ Milken Institute Global Conference ของการ เรียน seo ที่ไหน ดี ที่นครลอส แองเจลลีส เมื่อเร็วๆ นี้ ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีได้พูดคุยหารือเกี่ยวกับประโยชน์และอันตรายของเทคโนโลยีหุ่นยนต์และปัญญาประดิษฐ์
คุณ Tom Siebel ประธานและซีอีโอของบริษัทพัฒนาซอฟท์แวร์ C3 IoT ชี้ว่า ข้อมูลที่ปัญญาประดิษฐ์ หรือ AI สามารถดึงจากอุปกรณ์ดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์มือถือนั้น ล้วนเต็มไปด้วยข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลทางเศรษฐกิจ และข้อมูลการแพทย์ ซึ่งล้วนมีความสำคัญ และเสี่ยงที่จะถูกนำไปใช้ในทางที่ไม่เหมาะสม
ผู้เชี่ยวชาญยังระบุด้วยว่า เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์อาจทำให้คนตกงานมากขึ้นในอนาคต ยกตัวอย่าง รถยนต์ควบคุมตัวเองอัตโนมัติอาจทำให้คนขับรถแท็กซี่ตกงาน หรือคนงานตามโรงงานต่างๆ ที่อาจถูกหุ่นยนต์เข้ามาแทนที่
คุณ Tom Siebel แห่งบริษัท C3 IoT กล่าวว่า ตั้งแต่ปี ค.ศ 2000 เป็นต้นมา บริษัทขนาดใหญ่ใน Fortune 500 ต้องปิดตัวลงไปแล้วราว 52% ซึ่งแสดงให้เห็นถึงอันตรายจากเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจและความมั่นคงแห่งชาติด้วย
อย่างไรก็ตาม บรรดาผู้เชี่ยวชาญที่ร่วมประชุม MIGC ที่นครลอส แองเจลลีส เห็นพ้องกันว่า แม้เทคโนโลยีจะมีความเสี่ยง แต่การไม่เดินไปข้างหน้าเพื่อตามให้ทันเทคโนโลยีก็ไม่ใช่สิ่งที่ดีเช่นกัน เพราะบริษัทอื่น ในประเทศอื่น ก็พร้อมที่จะพัฒนาเทคโนโลยีประเภทเดียวกันนี้ขึ้นมาแทนอยู่ตลอดเวลา
ที่ประชุมยังได้ระบุถึงประโยชน์ของ AI ในด้านต่างๆ เช่น การนำมาวินิจฉัยโรค หรือการช่วยในการออกกำลังกาย ตลอดจนใช้ในการพัฒนาแหล่งพลังงานสะอาด
ที่ประชุมของ สัมมนา SEO เร่งเร้าให้องค์กรและรัฐบาลต่างๆ เตรียมตัวสำหรับสิ่งที่จะตามมากับเทคโนโลยีสมัยใหม่ และพร้อมที่จะรับมือกับการเปลี่ยนแปลง
ผู้เชี่ยวชาญยังเตือนถึงปัญหาช่องว่างทางเทคโนโลยีที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นระหว่างประเทศร่ำรวยกับยากจน
สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง
* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *