สวัสดีคับเพื่อนๆชาว อบรมอสังหา ที่ไหนดี วันนี้ทางทีมงานได้จัดหาข้อมูลใหม่ๆ นำมาฝากเพื่อนๆกันคับเรามาดูกันเลย เพื่อนๆคงไม่มีใครอยาก “จน” กันใช้ไหมคับ เพื่อนๆทุกคนก็คงอยากรวยและมีอิสระทางการเงินกันทั้งนั้น แต่เพื่อนๆบางคนก็อาจจะสงสัยกันว่า ทำไมพวกเราตั้งใจทำงานก็แล้ว ขยันก็แล้ว อดออมก็แล้ว แต่ทำไมไม่เคยมีเงินมีทองเหลือเก็บ หรือมั่งมีเหมือนคนอื่น
แต่ถ้าคุณพยายามทำทุกอย่าง อย่างเต็มที่และสุดความสามารถแล้ว อยากให้เพื่อนๆลองสังเกตหรือพิจารณากันว่า ฮวงจุ้ย หรือตำแหน่งที่ตั้งของบ้าน ที่พวกเพื่อนๆอยู่อาศัยกัน อาจดูแล้วว่าเป็นบ้านที่เข้าข่ายอยู่แล้วจนหรือไม่ ในวันนี้เว็บ อบรมอสังหา ที่ไหนดี จะมาแนะนำกัน
1.เปิดประตูแล้วเจอบันได
บ้านแบบนี้ยิ่งทำงานหนัก เงินยิ่งรั่วไหล ไม่เข้ากระเป๋า
2.ประตูและหน้าต่างมีจำนวนมากจนเกินไป
หากพิจารณาตามหลักฮวงจุ้ยแล้วถือว่าการมีประตูและหน้าต่างมากจนเกินไปนั้นจะยิ่งเป็นช่องทางให้เงินไหลออกจากบ้าน วิธีแก้ไขคือการเปิดหน้าต่างบางบานหรือใช้ผ้าม่านช่วย
3.บ้านต่ำกว่าถนน หรือสูงกว่าถนน
สำหรับบ้านที่ต่ำหรือสูงกว่าถนนเกินไปนั้นไม่ดีเพราะทำให้โชคลาภและสิ่งดีงามไม่ไหลเข้าบ้าน หรือไล่เข้าบ้านได้ไม่ถนัดนัก วิธีแก้ไขสำหรับบ้านที่อยู่ต่ำกว่าถนนคือการทำลานหน้าบ้านเปิดรับพลังเหล่านั้นให้ไหลเข้าบ้าน
4.บ้านในสภาพแวดล้อมสกปรก
จะยิ่งทำให้บ้านขาดพลังชี่ สังเกตดูก็ได้ว่าไม่ว่าคุณจะทำงานหนักแค่ไหนเหมือนเหนื่อยฟรี ดังนั้นคุณควรดูแลทำความสะอาดบ้านให้เรียบร้อย โปร่ง โล่ง สะอาด
5.ประตูทางเข้าบ้านแคบ และรก
ประตูเป็นทางเข้าของโชคลาภก็จริง แต่คุณควรเคลียร์พื้นที่บริเวณประตูให้สะดวกสำหรับสิ่งดีๆ จะวิ่งเข้ามาด้วย
6.บ้านโดนสะพานตัดผ่าน
ส่งผลให้มองไม่เห็นบริเวณหน้าบ้าน ซึ่งตามตำราศาสตร์หลักฮวงจุ้ยแล้วนั้นถือว่าเป็นเรื่องที่ไม่เหมาะสม
7.รั้วบ้านเตี้ย
บ้านที่เน้นการโชว์ความสวยงามของบ้าน อาจจะเลือกทำรั้วเตี้ยๆ เป็นไม้ระแนง ทำให้ไม่สามารถเก็บเงินทองไว้ได้
พวกเราทางทีมงาน thetrainerthailand.com อยากให้เพื่อนๆลองกลับไปเช็คดูนะครับว่าบ้านของเพื่อนๆนั้นถ้าเข้าข่ายอยู่แล้วจนกันบ้างหรือเปล่า
สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง
* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *