คอร์ส สอน seo ฟรี แนะนำการย้ายโดเมนเว็บไปใช้เป็น .co.th ต้องทำยังไง?

คอร์ส สอน seo ฟรี แนะนำการย้ายโดเมนเว็บไปใช้เป็น .co.th ต้องทำยังไง?

สวัสดีทุกท่านวันนี้คอร์ส สอน seo ฟรี  จะมาแนะนำทุกท่านว่า ปกติแล้วถ้าเราอยากจะใช้เว็บแบบ .co.th แล้วต้องการย้ายโดเมนจะต้องทำยังไง?

แอดมิน สอน seo ฟรี เห็นว่าส่วนใหญ่ผู้ให้บริการสินค้าหลายๆท่านที่ทำเว็บมานั้น ส่วนมากจะได้โดเมนเนมมาเป็น .com ซึ่ง ถ้าอยากจะได้เว็บที่เป็น .co.th ล่ะ จะทำยังไง จะย้ายได้ไหมในกรณีที่มีเว็บอยู่แล้ว

 

สอน seo ฟรี

 

ดังนั้นในวันนี้เราจะมาให้ข้อแนะนำการย้ายเว็บกัน

สำหรับคนที่จดทะเบียนโดเมนเนม และใช้งานเว็บโฮสติ้งอยู่แล้ว หลายๆ คน หรือส่วนใหญ่จะไม่รู้ว่า นอกจากที่เราจะสามารถย้ายเว็บโฮสติ้งเพื่อไปใช้บริการกับผู้ให้บริการอื่นๆ ได้แล้ว

เรายังสามารถย้ายโดเมนเนมที่เราจดทะเบียนไว้แล้ว ไปยังผู้ให้บริการอื่นๆ ได้อีกด้วย โดยที่มีขั้นตอนการดำเนินการเล็กน้อย แต่แน่นอนมันไม่ได้ยากเกินกว่าที่เราจะทำได้

ก่อนอื่นต้องขอบอกก่อนว่า การย้ายโดเมนเนมกับการย้ายเว็บโฮสติ้ง เป็นคนละเรื่องกัน คือเราสามารถย้ายโดเมนเนมโดยไม่ย้ายเว็บโฮสติ้งก็ได้ และเราก็สามารถย้ายเว็บโฮสติ้งโดยไม่ย้ายโดเมนเนมก็ได้

เนื่องจากทั้งโดเมนเนม และเว็บโฮสติ้งเป็นบริการคนละส่วนกัน ฉะนั้นเราสามารถจดทะเบียนโดเมนเนมกับผู้ให้บริการรายหนึ่ง แล้วไปใช้บริการเว็บโฮสติ้งกับผู้ให้บริการอีกรายหนึ่งได้

ย้ายโดเมเนนมที่จดทะเบียนกับผู้ให้บริการรับจดทะเบียนโดยตรง หรือ Registrar
ในกรณีนี้โดยส่วนมากจะเป็นโดเมนเนมที่จดทะเบียนกับผู้ให้บริการรับจดทะเบียนโดเมนเนมในต่างประเทศ เช่น eNom, Go Daddy, Tucows, Network Solutions, OnlineNic เป็นต้น เนื่องจากในประเทศไทยไม่มีผู้ให้บริการที่รับจดทะเบียนโดเมนเนมที่ได้รับสิทธิ์เป็น Registrar โดยตรง (ส่วนใหญ่จะเป็น Reseller ของ Registrar ในต่างประเทศอีกที) แต่ในต่างประเทศจะมีผู้ให้บริการที่ได้รับสิทธิ์ (ลักษณะคล้ายๆ สัมปทาน) ในการรับจดทะเบียนโดเมนเนม และสามารถแต่งตั้ง Reseller

เนื่องจากการจดทะเบียนโดเมน ประเภทที่ไม่ใช่ .com ทุกเว็บจะต้องจดทะเบียนไว้ที่ Registrar เดียวกันอยู่แล้ว ดังนั้นวิธีการจะไม่ยุ่งยากและใช้เวลา 5- 7 วันทำการ มีขั้นตอนดังนี้

1. Login เข้าสู่ระบบบริหารจัดการโดเมนเนม (Manage Domain) เพื่อขอ Auth Code หรือ EPP Code จากระบบ สำหรับ Auth Code หรือ EPP Code นั้นจะเป็นเสมือนรหัสลับของโดเมนเนมแต่ละตัว ซึ่งจะไม่เหมือนกัน และใช้สำหรับการย้ายโดเมนเนมเท่านั้น (สำหรับรหัสผ่าน เพื่อเข้าจัดการโดเมนเนม จะเป็นอีกชุดหนึ่ง) โดยเมื่อทำการร้องขอเรียบร้อยแล้ว ระบบจะส่ง Auth Code หรือ EPP Code ไปที่อีเมลล์ของ Administrative’s contact ของโดเมนเนมเท่านั้น (ดังนั้นท่านต้องตรวจสอบให้มั่นใจก่อนว่าอีเมลล์ดังกล่าวเป็นของท่านจริง)

2. ติดต่อผู้ให้บริการรับจดทะบียนโดเมนเนมปลายทาง (ที่เราจะย้ายไป) โดยอาจจะเป็นการสั่งซื้อบริการย้ายโดเมนเนมผ่านหน้าเว็บไซต์ โดยกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน ตรงนี้ระบบจะให้เราใส่ Auth Code หรือ EPP Code ด้วย หากไม่มีก็จะไม่สามารถทำต่อได้ หรือบางที่อาจจะให้เราส่ง Auth Code หรือ EPP Code ให้ผู้ให้บริการโดยตรง เพื่อให้เขาจัดการให้ หลังจากนั้นก็ชำระค่าบริการ โดยส่วนมากค่าบริการจะเท่ากัน หรือใกล้เคียงกับค่าบริการจดทะเบียนโดเมนเนมใหม่ของผู้ให้บริการรายนั้นๆ (สำหรับค่าบริการย้ายโดเมนเนมนี้ จะไม่สูญเปล่า เนื่องจากเมื่อย้ายโดเมนเนมเรียบร้อยแล้ว ระบบจะต่ออายุโดเมนเนมให้เราอีก 1 ปี)

3. เมื่อดำเนินการทั้งหมดเรียบร้อยแล้วให้รออีเมลล์เพื่อให้ทำการยืนยันการย้ายโดเมนเนม โดยอีเมลล์จะถูกส่งมาที่อีเมลล์เดียวกับที่ท่านได้รับ Auth Code หรือ EPP Code (อีเมลล์ Administrative’s contact) โดยในอีเมลล์จะมีลิงค์สำหรับคลิกเพื่อทำการยืนยันว่าต้องการย้ายโดเมนเนมจริง (ก็ทำตามคำแนะนำในอีเมลล์ได้เลย) และยังเป็นการยืนยันว่าคำร้องขอย้ายโดเมนเนมมาจากความต้องการของเจ้าของโดเมนเนมอย่างแท้จริงอีกด้วย (เพราะถ้าเราไม่ได้เป็นคนทำเรื่องย้าย และมีอีเมลล์มาแสดงว่ามีคนพยายามย้ายโดเมนเนมเราแล้ว) หลังจากยืนยันตามขั้นตอนแล้ว ระบบจะใช้เวลาประมาณ 5-7 วันในการดำเนินการ (ขึ้นอยู่กับผู้ให้บริการแต่ละราย)

รวมทั้งเว็บประเภทอื่นๆที่ใช้วิธีเดียวกันนี้ ได้แก่ .ac.th, .in.th, .or.th, .go.th, .net.th, .mi.th

โดยข้อเสนอแนะจากคอร์ส เรียนรู้ Seo   แค่นี้คุณก็ไม่ต้องเสียเวลาไปหาโฮสติ้งใหม่ที่เป็ร .co.th หรืออื่นๆตามที่ต้องการแลว

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *