ผลลัพธ์ของการ เรียน seo ที่ไหน ดี ด้วยการทำ ” WordPress & SEO “

ผลลัพธ์ของการ เรียน seo ที่ไหน ดี ด้วยการทำ ”  WordPress & SEO “

สวัสดีผู้อ่านทุกท่าน ที่กำลังหาว่าจะ เรียน seo ที่ไหน ดี โดยบทความนี้จะบอกถึงเหตุผลว่าทำไม ถึงไม่ควรทำ เฟสบุ๊คแฟนเพจอย่างเดียว และ ผลลัพธ์การทำการตลาดออนไลน์ด้วย WordPress & SEO

บทความนี้น่าจะเป็นประโยชน์ให้กับคนทำธุรกิจออนไลน์ที่ต้องการหาว่าจะ เรียน seo ที่ไหน ดี โดยที่มีต้นทุนคล้ายๆกับผม คือ มีความมุ่งมั่นที่จะทำการตลาดออนไลน์ด้วยเว็บไซต์เป็นหลักครับ

เรียน seo ที่ไหน ดี

อย่างแรกทางแอดมินต้องขอบอกก่อนว่า ที่แอดมินเลือกทำการตลาดออนไลน์ในเว็บไซต์ที่สร้างด้วย WordPress เป็นหลัก เพราะแอดมินค่อนข้างถนัดด้านนี้ อีกทั้งกูเกิลเสิรช์ก็พัฒนาระบบการค้นหาไปมาก ถึงขนาดช่วยผลักดันให้เว็บไซต์ขนาดเล็กที่สร้างเนื้อหาดีๆ ก็สามารถมีที่ยืน ในหน้าผลการค้นหาของกูเกิลได้ เคียงคู่กับเว็บไซต์ขนาดใหญ่ใน Google Search ครับ

ถ้าเว็บไซต์ติดอันดับในกูเกิลด้วย Keyword ที่ช่วยสร้างยอดขายแล้ว ตัวคอนเทนต์นั้นจะช่วยทุ่นแรงเป็นอย่างมาก เพราะจะมีคนเข้าเว็บไซต์เราสม่ำเสมอๆทุกๆเดือนทุกๆปีจากคอนเทนต์เหล่านั้น ด้วยข้อดีข้อนี้ทำให้นักรบมองเห็นโอกาสที่จะทำการตลาดออนไลน์ให้กับตัวเองได้ครับ

ทำไมถึงไม่ใช้ Facebook Fanpage เพียงอย่างเดียว

ถึงแม้ว่าจะมีคนนิยมเล่นเฟ๊สบุ๊คมากมายแค่ไหน แต่ด้วยตัวแพลตฟอร์มของเฟ๊สบุ๊คเองที่สร้างมาเพื่อป้อนคอนเทนต์ใหม่ๆเสมอ ทำให้คนทำการตลาดในเฟ๊สบุ๊คต้องทำคอนเทนต์อย่างไม่มีวันหมด ตัวคอนเทนต์เก่าๆดีๆจะตกลงไป ทำให้เราต้องกดแชร์คอนเทนต์นั้นอีกครั้งเพื่อเพิ่มการปฏิสัมพันธ์ (Engagement)

และตัว เฟสบุ๊คเองในช่วงปัจจุบัน ก็ ทำการปรับค่าฟีดการเห็นของเพจที่เป็นบทความอย่างเดียว ลงค่อนข้างมาก มากถึงขนาดที่ทำให้เพจเล็กๆ นั้นแทบจะล้มหายตายจากกันไปเลยทีเดียว ถ้าวัดจากการปรับในครั้งล่าสุดนั้น อาจจะต้องบอกได้เพียงแค่ว่า ถ้าไม่พร้อมที่จะจ่ายค่า Ads ให้กับ เฟสบุ๊คแล้วล่ะก็ คงต้องทำให้เพจของตัวท่านเอง มีการแชร์ข้อมูลบนเพจออกสู่ออร์แกนิกฟีดให้มากกว่าที่ควรซึ่งในทางปฏิบัตินั้นแทบจะเป็นไปไม่ได้

เพราะว่า ตัว เฟสบุ๊คทำการปรับ การเห็นฟีดของเพจลงถ้าคนไม่เห็นเขาก็จะไม่แชร์ ถ้าเห็นแล้วบทความไม่โดน เขาก็ยังคงไม่แชร์อีก ดังนั้นทางเลือกสุดท้ายสำหรับทุกท่านที่กำลังทำแฟนเพจ เฟสบุ๊คอยู่ก็คือการซื้อโฆษณากับตัว เฟสบุ๊คเอง

แต่ถ้าเลือกทำคอนเทนต์ในเว็บด้วยวิธีของ สัมมนา SEO เป็นหลัก แล้วทำ SEO จนติดอันดับในกูเกิลเสร์ชครบทุกคีย์เวิร์ดแล้ว เราสามารถหยุดพักได้ โดยที่ยังมีคนเข้าชมเว็บสม่ำเสมอทุกๆเดือน ทุกๆปีครับ

ผลลัพธ์ของการทำ SEO กับเว็บไซต์ที่สร้างด้วย WordPress

ตอนเริ่มต้นนั้นก็ไม่ได้มีชื่อเสียง, ไม่ได้มีเงินทุนหลักล้าน และ  ไม่ได้มีคอนเน็คชั่นมากมายนัก แต่เราเชื่อว่าทักษะและวิธีคิดด้านการตลาดออนไลน์ที่ดี จะมีส่วนช่วยเป็นอย่างมาก ในการสร้างระบบการตลาดดิจิตอล (Digital Marketing System) ที่เหมาะกับธุรกิจของตัวเองขึ้นมาครับ

อย่างที่กล่าวไปในบทความก่อนๆ การทำ SEO คือการที่เราอาศัย ตัวบอทของกุเกิ้ลในการจัดอันดับเว็บหลายๆเว็บด้วยตัวมันเอง โดยวิธีการนั้นคือการเลือกเฟ้นคีย์เวิร์ดที่ต้องการหรือ คีย์เวิร์ดที่คนทั่วๆไปค้าหาค่อนข้างมาก โดยคีย์เวิร์ดนั้นจะต้องตรงกับวัตถุประสงค์ของเว็บ และ เนื้อหาของเว็บเอง

เมื่อเราเลือกเฟ้นหาข้อมูลดังกล่าวแล้ว จึงเริ่มทำบทความที่มีประโยชน์ สำหรับผู้อ่านเพื่อให้บอทของกุเกิ้ลมองว่า ตัวเว็บของเรานั้นมีค่ามากพอที่จะอยู่ในอันดับของกุเกิ้ล และเมื่อเราทำบทความที่ดีได้มากพอมีคนเข้ามาชม เข้ามาอ่านในเว็บเราบ่อยๆ ตัวกุเกิ้ลนั้นก็จะปรับให้เว็บเราอยู่หน้าแรกๆ เองโดยอัตโนมัติ

และจากความรู้ที่ทำ SEO แล้วได้ผลเว็บไซต์ตัวเอง จนเรียกคนเข้าเว็บรวมกันได้มากกว่า หลักหมื่น คน/เดือน ถึงมันจะไม่มากเท่าไหร่ แต่ก็เพียงพอที่จะสร้างระบบการตลาด เพิ่มคนมารู้จักสินค้าและบริการของเราสม่ำเสมอๆ ช่วยประหยัดรายจ่ายในการซื้อโฆษณาใน AdWords & Facebook Ads ได้มากพอที่จะทำให้ธุรกิจของเราดำเนินต่อไปได้ โดยไม่ขาดทุนครับ

ดังนั้นการทำ SEO จะช่วยประหยัดเงินในการซื้อโฆษณา ทำให้กำไรที่ได้ไม่หมดไปกับการซื้อโฆษณา อีกทั้งจำนวนคนที่เข้าเว็บไซต์อย่างสม่ำเสมอจากการทำ SEO ทำให้มีทั้งคนเก่าและคนใหม่ เข้ามาแวะชมเว็บไซต์ตลอดทั้งปีมากกว่า 150,000 คน ในปี 2016

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *