การเริ่มต้นทำธุรกิจก่อนอื่นควรเริ่มจากการหาที่เรียน SEO เพื่อเพิ่มกำลังให้กับธุรกิจของเรา และถ้ากำลังคิดว่าจะเริ่ม เรียน seo ที่ไหน ดี นั้น ทางเราแนะนำเว็บ thetrainerthailand 7 ขั้นปั้นอันดับก่อนเลย เพราะ เราเปิดแนวได้เเบบเบสิคของการทำ SEO และ การทำบัญชีของ Startup ให้เป็นเรื่องสำคัญที่ผู้ประกอบการไม่ควร “พลาด” เพราะหากกิจการที่เราทำนั้นเป็นกิจการที่ดีมีอนาคตสดใส
ถ้าคุณกำลังคิดว่าจะเริ่ม เรียน seo ที่ไหน ดี นั้น ลองมาฟังทางนี้กันก่อน ก่อนจะตัดสินใจ เมื่อเราเริ่มทำธุรกิจแล้ว แต่เรากลับมาพลาดกับเรื่องที่ไม่ควรจะพลาดอย่างการวางแผนการเงิน และการทำบัญชี… คงเป็นเรื่องที่น่าเสียดายสุดๆ เลยทีเดียวครับ เรามาดูกันดีกว่าว่า Startup เริ่มต้นให้ดี วางแผนการเงินให้เป็นต้องทำอย่างไรกันบ้าง
1.วางแผนกระแสเงินสดของกิจการ
กิจการที่ดีควรมีกระแสเงินสดไหลเข้ามาอย่างต่อเนื่อง กระแสเงินสดก็คือ การนำรายรับไปหักออกจากค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน กระแสเงินสดที่ดีควรสูงกว่ากำไรสุทธิที่บริษัททำได้ ยิ่งมากยิ่งดี เพราะกว่าจะหักค่าใช้จ่ายจนกลายเป็นกำไรสุทธินั้น จะต้องหักภาษี และดอกเบี้ยจ่ายออกไปอีก… หากกระแสเงินสดดีอย่างต่อเนื่อง แถมเติบโตขึ้นเรื่อยๆ นั่นคือสัญญาณที่ดีในการทำกิจการ ในทางกลับกันหากกระแสเงินสดของกิจการลดลง และไม่เติบโต นั่นเป็นสัญญาณที่ไม่ดี แต่มีข้อยกเว้นในกรณีที่กิจการกำลังเติบโตอย่างรวดเร็ว และต้องลงทุนอย่างต่อเนื่อง กระแสเงินสดของกิจการอาจจะติดลบได้ แต่ควรเป็นสภาวะชั่วคราว และควรจะดีขึ้นเรื่อยๆ ในอนาคตนะครับ
2.วางแผนสภาพคล่องของธุรกิจ
ธุรกิจดีๆ หลายธุรกิจอาจถึงขั้นล้มละลายได้ถ้าขาดสภาพคล่อง สภาพคล่องคือ การบริหารรายจ่ายให้สัมพันธ์กับรายรับของบริษัท ยกตัวอย่างเช่น หากบริษัทเรามีรายจ่ายประจำเดือนๆ ละ 1 ล้านบาท ถ้าเรามีรายรับในรอบเดือน 1 ล้านเท่ากับรายจ่าย แบบนี้ถือว่าเราเริ่มตึงมือแล้วครับ เมื่อไรสภาพคล่องเราต่ำกว่า 1 เท่านั่นเป็นสัญญาณอันตรายของธุรกิจ กิจการที่ดีควรมีสภาพคล่องสูงกว่า 1 เท่าขึ้นไปจึงจะดี และปลอดภัย
3.ตรวจติดตามงบกำไร-ขาดทุน
งบกำไร-ขาดทุน ถือเป็นงบการเงินทางบัญชีที่มีความสำคัญอย่างมาก เพราะกิจการที่ดีควรทำแล้วมีกำไร แม้ในระยะแรกของกิจการที่อาจต้องลงทุนสูงๆ จะทำให้ขาดทุนไปบ้าง แต่เจ้าของธุรกิจควรมีแผนการที่ชัดเจนที่จะทำให้บริษัทพลิกกลับมากำไรในระยะเวลาที่กำหนดเอาไว้ การตรวจติดตามผลการดำเนินงานเราสามารถติดตามได้จาก งบกำไร-ขาดทุน ของกิจการของเราครับ หากกิจการของเรามีแนวโน้มที่จะกำไร และเป็นกำไรที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง และยั่งยืน นั่นเป็นสัญญาณที่ดีที่แสดงให้เห็นว่า… กิจการของเรากำลังดีขึ้น เราเดินมาถูกทาง
4.เรียนรู้งบดุล
งบดุลถือเป็นตัววัดสุขภาพทางการเงินของบริษัท งบดุลประกอบด้วย สินทรัพย์ หนี้สิน และทุน เมื่อเรานำสินทรัพย์มาหักลบกับหนี้สิน ส่วนที่เหลือคือทุน หรือที่เราจะเรียกว่าเป็นส่วนของเจ้าของนั่นเองครับ บริษัทที่ดีควรมีงบดุลที่แข็งแรง มีสินทรัพย์มากกว่าหนี้สิน และมีส่วนของเจ้าของ หรือทุนที่สะสมเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ นั่นเป็นสัญญาณที่ดีสำหรับการทำงบดุลของกิจการ ในทางกลับกันหากงบดุลไม่ดี ส่วนของทุนจะลดลงเรื่อยๆ จนถึงขึ้น “กินทุน” ถือเป็นสัญญาณที่ไม่ดีของการทำธุรกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งธุรกิจ Startup อย่าลืมตรวจสอบ และเรียนรู้งบดุลเพื่อสุขภาพทางกาเงินที่ดีของกิจการของเราด้วยนะครับ
5. ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญด้านการเงิน การบัญชี
แน่นอนที่สุดว่าการ สัมมนา SEO เรื่องการทำธุรกิจนั้นเจ้าของกิจการต้องเก่งที่สุด แต่ถ้าเป็นเรื่องของการเงิน การบัญชี เราอาจไม่ได้เก่งที่สุด ดังนั้นเราควรมองหาผู้เชี่ยวชาญด้านการเงิน การบัญชี ที่จะมาช่วยเรา ช่วยกิจการของเราให้ราบรื่น เพราะตัวเราเองนั้นไม่สามารถทำทุกอย่างได้หมด การที่เรามองหามืออาชีพมาช่วยงาน จะทำให้เราไม่ต้องกังวลกับเรื่องที่เราไม่ถนัด ปล่อยให้ผู้เชี่ยวชาญทำงานที่เราไม่ถนัด ทำให้เรามีเวลามาต่อยอดธุรกิจ Startup ของเราจะดีกว่าครับ
ทั้งหมดที่กล่าวมานั้น เป็นจุดเริ่มต้นที่เราควรคิดก่อนที่จะเริ่มต้นทำธุรกิจอะไร หรือ เริ่มทำไปแล้ว ลองดูว่า ในเรื่องที่ทางแอดมินได้กล่าวมานั้นเราเข้าใจมันมากน้อยแค่ไหน และ ธุรกิจของเรานั้นเป็นอย่างบทความข้างต้นหรือไม่ เพื่อให้ธุรกิจของเราเติบโตอย่างยั่งยืน และ ต้องให้มั่นคงด้วยการทำ SEO บนเวิร์ดเพลส เพื่อให้เรามีลูกค้าใหม่ๆ เข้ามาเรื่อยๆ หากสนใจที่จะเข้าอบรม สามารถติดตามข่าวสารได้ที่หน้าแฟนเพจ หรือ เว็บไซด์ได้เลย
สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง
* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *