เว็บ สอน การ ตลาด ออนไลน์ แนะนำการสร้างเสริมความรู้และประสบการณ์เพื่อเป็นประกันรายได้ของมนุษย์เงินเดือน

เว็บ สอน การ ตลาด ออนไลน์ แนะนำการสร้างเสริมความรู้และประสบการณ์เพื่อเป็นประกันรายได้ของมนุษย์เงินเดือน

เว็บ สอน การ ตลาด ออนไลน์ อยากจะมาแนะนำการใช้ในชีวิตการทำงาน โดยปกติเราต้องผ่านการเปลี่ยนงานหลายต่อหลายที่ เพื่อค้นหาที่ทำงานที่เหมาะสมกับเราที่สุด สิ่งแวดล้อมของที่ทำงานแต่ละที่ก็ไม่เหมือนกัน

เราจะรู้ได้ว่างานที่ทำอยู่นั้นเหมาะกับเราอย่างแน่ชัดเมื่อ  เราทำงานไปได้สักประมาณ 6 เดือน – 1 ปี โดย ทีม สอน การ ตลาด ออนไลน์ นั้นจะเห็นว่า คนที่ทำงานไปแล้ว 6 เดือนถึง 1 ปี จะได้คำตอบกับตัววเองแล้วว่า งานนี้เหมาะกับเราหรือไม่อย่างไร ซึ่ง หลายๆคนอาจจะไม่โอเคกับงานใหม่ตั้งแต่ก่อนผ่านโปรเสียอีก และ บางคนอาจจะเริ่มไม่โอเคเมื่องานเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น เปลี่ยนแปลงหัวหน้า เปลี่ยนแปลงผู้บริหาร เปลี่ยนตำแหน่ง เปลี่ยนเพื่อนร่วมงาน เป็นต้น

สอน การ ตลาด ออนไลน์

ใช้ความรู้และประสบการณ์ เพื่อเป็นประกันเงินเดือนให้กับตัวเอง

ความรู้และประสบการณ์จะช่วยให้เรามีโอกาสและความมั่นใจในการค้นหางานใหม่ ที่เขาพร้อมจะเปิดรับคนที่มีความสามารถ โดยเราต้องแสดงความสามารถให้โดดเด่นในโลกออนไลน์ครับ

ในช่วงของการเลือกที่ทำงาน และเข้าทำงาน เราจะรู้เพียงเงินเดือน, สวัสดิการ, งานที่รับผิดชอบ,  และภาพลักษณ์ภายนอกของบริษัท แต่ยังไม่รู้ถึงรายละเอียดอื่นๆที่ซ่อนอยู่ เช่น กระบวนการทำงาน, นิสัยของเพื่อนร่วมงานและหัวหน้างาน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้เรามีความสุขในการทำงานหรือไม่ด้วยครับ

หากวันที่รู้ตัวแน่ชัดว่างานที่ทำตอนนี้ไม่ ok อีกต่อไป แต่ก็ไม่สามารถหาที่ทำงานใหม่สำรองดีๆได้ จนต้องอดทนทำงานเพื่อให้ได้เงินเป็นค่าใช้จ่ายครองชีพ เมื่อถึงจุดนี้ละก้อ เราจะตกอยู่ในสภาวะของการไม่มีทางเลือก และส่งผลให้วิธีคิดและวิธีการทำงานของเราตกต่ำลง หรืออยู่ในเกณฑ์แค่พอผ่านไปวันๆครับ

หลายๆ คนนั้น อาจจะต้องทนทำงานเพราะว่า ทำที่นี่มานานแล้ว และ ไม่กล้าที่จะเปลี่ยนงาน อย่างตัวแอดมินเองก็เคยผ่านช่วงนั้นมา ไปที่ใหม่ก็ไม่มั่นใจว่าจะดีเหมือนที่เก่าหรือจะแย่กว่า ทั้งๆที่ ที่เก่าอาจจะแย่เพราะเพื่อนร่วมงาน อาจจะแย่เพราะหัวหน้า หรือ อาจจะแย่เพราะผู้บริหารก็ได้ จากที่ชอบทำงานก็กลายเป็น ทนทำงานกันไป

แต่ถ้าเราสามารถประกันตนเองได้ ด้วย ประสบการร์ และ ความรู้ของเราล่ะ จะเป็นอย่างไร ซึ่งนั่นหมายถึงเราอาจจะเลือกงานได้ ไม่ใช่รอให้เขามาเลือกเราโดยการส่ง ใบสมัครสุ่มๆไปในเว็บหางาน

ประกาศตัวความสามารถตัวเองในโลกออนไลน์

คนเก่งมีมากมาย แต่คนเก่งที่ประกาศตนในโลกออนไลน์ให้คนรู้จัก มักได้งานแบบไม่ต้องเดินหาเสมอ เพราะงานจะเข้ามาหาคนที่ฉายแววประกายเด่นในด้านนี้ในโลกออนไลน์นั้นเอง ยังมีคนอีกกลุ่มหนึ่งที่กำลังเฟ้นหาคนเก่งๆเพื่อร่วมทีมหรือร่วมโปรเจคของเขา และวิธีหนึงที่เขาใช้คือ การค้นหาบนโลกออนไลน์ จึงไม่แปลก หากว่าเราแสดงตนชัดเจนถึงความถนัดของเราบน Internet จะช่วยให้เขาค้นเจอเราและติดต่อเราได้ไม่ยากครับ

การประกาศตัวเองว่าทำอะไรได้บ้างด้วยวิธีต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการสร้างผลงาน การฝากผลงานไว้บนเว็บไซด์ชื่อดังอื่นๆ ร่วมถึงการทำเว็บผลงานของตัวเอง

ใครจะไปรู้ว่าบางทีคุณอาจจะได้งานพิเศษเป็นจ๊อปๆไว้ทำเล่นๆยามว่างเป็นการเพิ่มรายได้อีกทาง นึงก็ได้

เราจะบอกโลกวาเราเก่งด้านนี้ทางไหนได้บ้าง ?

เริ่มต้น
แบ่งเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง/วัน เพื่อสร้างเรื่องราวและบอกเล่าความสามารถของตัวเองผ่านการเขียนบทความ, ภาพ, เสียง หรือ วีดีโอย่างไดอย่างหนึ่งตามถนัด โดยสามารถสร้าง Content เหล่านี้ลง Facebook Fanpage , หรือ Youtube Channel ได้ก่อน เพราะสร้างง่ายที่สุด

ในขั้นถัดมา
หากมีความชำนาญเรื่องเว็บไซต์ แนะนำเอาความรู้ทีเขียนบน Facebook Fanpage และ Youtube มาลงใน เว็บบล็อกของเราครับ หลังจากที่มีความรู้มากพอ จะช่วยให้โลกรู้จักเรา ผ่านทั้ง Fanpage, Youtube และ เว็บไซต์

เมื่อทำไปสักระยะก็จะเริ่มมีคนสอบถามและติดต่อเข้ามาให้ทำงานให้, พูดคุย หรือ ชมเชยถึงผลงาน ทั้งหมดตรงนี้เหละครับ จะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีของการสร้างชื่อเสียงของเรา สร้าง Personal Brand ให้กับเราอย่างดีทีเดียว และทั้งหมดนี้ก็จะกลายเป็นหลัก “ประกันมนุษย์เงินเดือน” ที่มีค่ามากที่สุดครับ

หากสนใจที่จะสร้างเสริมประสบการณ์ความรู้สามารถติดต่อได้ที่ทีมงาน อบรม seo   เพื่อสานต่อความรู้และวิธีการสร้างเสริมความสามารถของเรา

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *