คอร์สนายหน้าอสังหา แนะ เคล็ดลับการทำความสะอาดเครื่องครัวสแตนเลสจากคราบน่าปวดจิต!

คอร์สนายหน้าอสังหา แนะ เคล็ดลับการทำความสะอาดเครื่องครัวสแตนเลสจากคราบน่าปวดจิต!

“ เครื่องครัวสแตนเลส ” ทำให้เครื่องครัวชนิดนี้เป็นที่นิยมในครัวเรือนอย่างมาก อย่างที่แอดมิน คอร์สนายหน้าอสังหา บอกไม่ว่าจะเป็นเครื่องใช้ต่างๆ ภายในครัวจนไปถึงเครื่องใช้ต่าง ๆ ภายในห้องครัวทั้งหน้าบานตู้เย็น เคาน์เตอร์ครัว จนไปถึงอ่างล้างจาน สแตนเลสนั้นก็เหมือนกับวัสดุอื่นๆ ที่เมื่อใช้งานแล้วก็สามารถเกิดคราบได้ตั้งแต่คราบเบาๆ จนไปถึงคราบหนัก

ถ้าขืนทิ้งไว้ไม่รีบทำความสะอาดก็จะเกิดเป็นคราบเหนียวๆ รวมไปถึงการเกิดรอยขีดข่วนบนผิวหน้า ก็เกิดขึ้นง่ายมาก เพราะฉะนั้นการทำความสะอาด เครื่องครัวสแตนเลส นั้นจึงต้องใช้ความระมัดระวังอยู่พอสมควร วันนี้ คอร์สนายหน้าอสังหา รวมเคล็ดลับการดูแลและการทำความสะอาดเครื่องครัวสแตนเลสกับคราบสุดฮิตบนเครื่องครัวมาฝากกันคะ

คอร์สนายหน้าอสังหา

คราบมันบริเวณอ่างล้านจาน

บริเวณอ่างล้างจานหรือภาชนะสแตนเลสชนิดต่าง ๆ นั้นอาจมีคราบมันเกิดขึ้นได้ตลอดจากอาหารและวัตถุดิบต่าง ๆ ซึ่งเป็นคราบอีกชนิดที่แม้ไม่ได้ฝังแน่นและเห็นไม่ชัด แต่ก็ต้องคอยทำความสะอาดอยู่เป็นประจำ ถ้าเป็นเพียงคราบมันจุดเล็ก ๆ ก็อาจล้างทำความสะอาดได้ไม่ยาก แต่หากเกิดเป็นวงกว้างคงต้องอาศัยการผสมน้ำกับสบู่อ่อน ๆ มาทำความสะอาดแทน นอกจากจะช่วยขจัดคราบมันได้แล้วยังไม่เป็นการสิ้นเปลืองเกินไปอีกด้วย

คราบกาวจากสติ๊กเกอร์ฉลากสินค้า

ได้เครื่องครัวหรือของใช้สแตนเลสชิ้นใหม่มาแบบสวยปิ๊งทั้งที จะมาทำเสียตรงที่ปล่อยให้มีคราบกาวจากการลอกฉลากราคาหรือโลโก้สินค้าได้ยังไงหล่ะ แทนที่จะต้องค่อย ๆ มานั่งแกะออกทีละนิดพร้อมกับลุ้นให้ฉลากหลุดลอกออกมาเป็นแผ่นอย่างสวยงาม ก็ลองเปลี่ยนมาใช้วิธีการแช่ในน้ำอุ่นผสมกับสบู่อ่อน ๆ ก่อนที่จะจัดการลอกออก และหากคราบกาวยังหลงเหลืออยู่ก็ลองบีบครีมกันแดดสักหน่อยมาเช็ดความสะอาดอีกครั้งเพื่อให้ผิวสแตนเลสนั้นสวยเนี๊ยบไร้ที่ติ

คราบตะกรันในกาต้มน้ำ

กาน้ำร้อนสแตนเลสที่ภายนอกอาจยังดูสวยเหมือนใหม่ แต่ด้านในอาจมีคราบตะกรันเป็นจุดขาว ๆ เต็มไปหมด เพราะความชะล่าใจที่คิดว่าการใช้กับน้ำเปล่าอาจไม่ทำให้เกิดคราบสะสม ซึ่งกว่าจะสังเกตเห็นอีกทีก็อาจกลายเป็นคราบที่ทำความสะอาดได้ยากซะแล้ว ถ้านำมาขัดถูแรง ๆ ก็อาจเป็นรอยได้ แต่หากใช้ประโยชน์จากน้ำส้มสายชูโดยนำไปผสมกับน้ำเปล่าและใส่กาต้มให้เดือดหรือแช่เอาไว้ก็จะช่วยให้คราบหลุดออกได้ง่ายกว่าแน่นอน

คราบดำจากเตาแก๊ส

ปัญหาคราบไหม้หรือคราบจากเตาแก๊สเวลาปรุงอาหารที่มักจะทิ้งคราบดำ ๆ เหลือง ๆ ไว้บนผิวสแตนเลสคงเป็นปัญหาสุดกวนใจที่อาจเกิดขึ้นได้กับหลาย ๆ บ้าน โดยการแก้ปัญหาก็มีตั้งแต่การใช้น้ำส้มสายชู หรือโซเดียมคาร์บอเนตร่วมกับแผ่นขัดทำความสะอาดผิวสแตนเลส ถ้าเกิดคราบภายในหม้อก็สามารถใช้วิธีการต้มให้เดือดก่อนทำความสะอาดได้ แต่หากเป็นคราบที่เกิดที่ผิวด้านนอกก็อาจต้องอาศัยการแช่ไว้สักพัก จึงค่อยออกแรงขัดไปในทิศทางเดียวกันเพื่อรักษาผิวสแตนเลสให้เกิดรอยน้อยที่สุด

คราบเหนียวกรังสะสม

คราบเหนียวกรังที่ตะแกรงหรือชิ้นส่วนเครื่องครัวมาจากการสะสมไว้ยาวนานหลังจากทำอาหาร โดยไม่ได้ทำความสะอาดทันที อาจมีทั้งน้ำมัน ฝุ่นผง และเศษวัตถุดิบต่าง ๆ ทำให้เป็นคราบอีกประเภทที่ทำความสะอาดได้ยาก อาจต้องพึ่งทั้งน้ำยาทำความสะอาด ระยะเวลาและการขัดถู แต่ทางลัดที่จะช่วยขจัดคราบเหนียวกรังนี้ออกไปได้ง่ายขึ้นก็คือเบกกิ้งโซดาและน้ำเปล่านั่นเอง โดยสามารถผสมอัตราส่วนของเบกกิ้งโซดาได้มากน้อยตามความหนักของคราบและใช้การแช่หรือเช็ดเพื่อทำให้คราบหลุดออก

คราบหมอง

สำหรับบริเวณพื้นผิวสแตนเลสที่มีการใช้งานบ่อย ๆ อย่างตู้เย็น ก๊อกน้ำหรือเคาท์เตอร์ครัว อาจมีปัญหากวนใจเล็ก ๆ น้อย ๆ อย่างคราบหมองที่ทำให้คุณแม่บ้านต้องหมั่นเช็ดทำความสะอาดอยู่เป็นประจำ เพราะแค่ใช้งานไปสักพักคราบหมองที่ทำให้ผิวสแตนเลสไม่เงาสวยก็กลับมาอีก จึงต้องเน้นวิธีการทำความสะอาดที่ง่ายและรวดเร็ว อย่างสเปรย์ทำความสะอาดเอนกประสงค์ที่สามารถเตรียมไว้ให้พร้อมใช้ได้เสมอ โดยการผสมน้ำส้มสายชูหรือเบกกิ้งโซดาไว้ในขวดสเปรย์ เมื่อต้องการใช้งานก็สามารถหยิบมาฉีดได้โดยไม่ต้องรอ ตามด้วยการใช้ผ้าไมโครไฟเบอร์มาเช็ดให้แห้งสนิทอีกครั้ง

เพียงลองทำตามที่แอด อบรมนายหน้าอสังหาฟรี บอกดูนะคะ รับรองว่าได้ผลชัวร์ๆเลยล่ะคะ

 

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *