เว็บ อยากเป็นนายหน้าขายที่ดิน คิดว่าทำไมตัวของคุณถึงทำงานหนักมาก ทำงานหลายอย่าง รับจ็อบงานเยอะ ทำงานก็ดีเงินเดือนก็เยอะแต่ทำไมถึงไม่มีเงินเก็บ
เว็บ อยากเป็นนายหน้าขายที่ดิน แนะนำให้ ลองได้ศึกษากับตำราศาสตร์ฮวงจุ้ย และลองตกแต่งบ้านแบบผสมผสานระหว่าง ตำราศาสตร์ฮวงจุ้ยกับไอเดียสไตล์ใหม่ๆเรามาดูกันเลย
1.เงินคือของสูง
บางคนอาจมีกระปุกออมสินไว้ในบ้าน แต่กลับวางในตำแหน่งที่ไม่เหมาะสม อาจเป็นเพราะต้องการซ่อนให้ลึกลับที่สุด แต่ตำแหน่งที่เราอยากแนะนำคือตำแหน่งที่สูง อย่าเอาเงินไว้ในลิ้นชักที่อาจจะถูกทับด้วยข้าวของที่ไม่เหมาะสม
2.วางสมุดบัญชีไว้ที่ตำแหน่งรับทรัพย์ในบ้าน
สมุดบัญชีก็ถือเป็นของที่เกี่ยวข้องกับเรื่องเงินทอง ดังนั้นตำแหน่งที่เหมาะสมสำหรับสมุดบัญชีมากที่สุดคือตำแหน่งรับทรัพย์ นอกจากนั้นยังแนะนำให้เก็บสมุดบัญชีไว้อย่างเรียบร้อย ใส่ซองพลาสติกหรือเก็บแยกจากเอกสารอื่นๆ อย่างชัดเจน
3.หาตำแหน่งถังเงินถังทองในบ้านให้เจอ
ก่อนอื่นคุณต้องรู้ว่าตำแหน่งรับทรัพย์ของบ้านนั้นอยู่ตำแหน่งไหน วิธีการง่ายๆ คือให้ยืนหันหน้าเข้าบ้าน โดยยืนอยู่บริเวณประตูบ้านตำแหน่งท้ายของบ้านฝั่งซ้ายมือคือตำแหน่งถังเงินถังทอง และวิธีการเหล่านี้ยังสามารถใช้หาตำแหน่งรับทรัพย์กับห้องอื่นๆ ได้ด้วย
4.เอาของชำรุดทิ้งออกจากบ้าน
ของหัก ของพัง ของชำรุด หมดสภาพการใช้งานอย่าเก็บไว้ เพราะของที่ใช้งานไม่ได้ทำให้เกิดพลังแย่ๆ ในบ้าน
5.เรียกทรัพย์ด้วยสีเขียว และสีม่วง
ตามหลักฮวงจุ้ยสีเขียวคือสีเรียกทรัพย์ ส่วนสีม่วงคือสีแห่งความมั่งคั่งร่ำรวย ทางที่ดีคือการนำสีเขียวกับสีม่วงวางไว้ในตำแหน่งรับทรัพย์เช่นดอกไม้สีม่วงประดับใบไม้สีเขียว หรือบางบ้านอาจวางผลไม้ที่มีสีทั้งสองสีไว้รวมกัน
6.อย่าปล่อยให้ตำแหน่งถังเงินถังทองสกปรก
เรื่องความสะอาด ไม่ใช่เพียงหลักฮวงจุ้ยเท่านั้นที่ให้ความสำคัญ เพราะการทำให้พื้นที่ใดๆ ในบ้านโล่ง สะอาด ไม่สกปรกย่อมเป็นเรื่องดีอยู่แล้ว โดยเฉพาะในตำแหน่งรับทรัพย์นั้นก็ควรทำความสะอาดอยู่เสมอ ไม่ปล่อยให้มีของวางกองเต็มห้องไปหมด
ได้วิธีเช็กฮวงจุ้ยบ้านเกี่ยวกับเรื่องเงินทองกันไปแล้ว ลองนำไปปฏิบัติกันดูนะคะ ได้ผลอย่างไรแล้วเอามาแชร์และเล่าให้ฟังกันบ้างก็ได้นะคะ
สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง
* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *