คอร์สนายหน้าอสังหา  6 วิธีแก้ห้องเหม็นอับสุดยี้ ให้หอมฟุ้งในไม่กี่ขั้นตอน

คอร์สนายหน้าอสังหา  6 วิธีแก้ห้องเหม็นอับสุดยี้ ให้หอมฟุ้งในไม่กี่ขั้นตอน

คอร์สนายหน้าอสังหา โอ๊ย…ปัญหาโลกแตก กับกลิ่นไม่พึงประสงค์ในห้อง ผ่านเวลาไปเนิ่นนาน ยังไม่รู้จะทำอย่างไรดี วันนี้ รวบรวมวิธีมาแนะนำ เพื่อกำจัดกลิ่นเหม็น ไล่กลิ่นอับออกไปจากวิมานของเรา…

จริงๆ แล้ว กลิ่นเหม็น กลิ่นอับ เกิดขึ้นได้หลายปัจจัย คอร์สนายหน้าอสังหา ทั้งจากสิ่งที่เรานำเข้ามาไว้ภายในห้อง โดยเฉพาะอาหารนานาชนิด หรือจะเป็นกลิ่นบุหรี่ กลิ่นห้องน้ำ รองเท้ามหาภัย รวมไปถึงตู้เย็น ไมโครเวฟ และกลิ่นอับตามตู้เสื้อผ้าต่างๆ หรือกลิ่นที่เกิดขึ้นพร้อมกับความชื้นของห้องด้วย

คอร์สนายหน้าอสังหาเปิดประตู หน้าต่าง

การถ่ายเทอากาศยังเป็นสิ่งแรกที่เราควรทำ เพื่อไล่กลิ่นไม่พึงประสงค์ออกไปก่อนระดับหนึ่ง มีประตูกี่บาน หน้าต่างกี่บาน เปิดให้หมดค่ะคุณขา โดยให้อากาศภายนอกเข้ามาแทนที่ นอกจากอากาศแล้ว แสงแดดก็ช่วยได้เช่นกัน ลงทุนลงเวลานิดหน่อย รับรองช่วยได้เยอะ

สำรวจหาต้นเหตุและจัดการมัน! 

หากต้องการแก้ปัญหาเรื่องกลิ่นไม่พึงประสงค์ในระยะยาว เราควรพิจารณาหาต้นเหตุของกลิ่น และกำจัดให้ถูกต้อง เช่น กลิ่นในห้องครัวที่ทำอาหาร อันเนื่องมาจากถังขยะ แม้จะปิดฝาให้มิดชิดแล้วก็ยังไม่รอดพ้นจากกลิ่นเหม็น เราสามารถแก้ไขได้ด้วยการนำมะนาวฝานทิ้งลงถังขยะ หรือใช้ใช้หนังสือพิมพ์รองก้นถังขยะ และปิดฝาถังให้มิด เพื่อป้องกันกลิ่นไม่ให้ฟุ้งกระจาย

ส่วนกลิ่นในห้องครัวที่มาจากอาหารไหม้ เราสามารถใช้มะนาวฝานต้มน้ำในกระทะ เพื่อให้กลิ่นหอมของมะนาวช่วยดับกลิ่นไหม้ได้ ทั้งยังสามารถช่วยดับกลิ่นอาหารที่ติดไมโครเวฟได้เช่นกัน ด้วยการนำมะนาวที่หั่นเป็นชิ้นบางๆในลงในน้ำเดือดและตั้งทิ้งไว้แบบปิดฝาให้ไอน้ำระเหยออกมา ทำให้กลิ่นในห้องครัวดีขึ้น

ของคู่ครัวสารพัดประโยชน์

ลองสำรวจห้องครัวของคุณว่า มีน้ำส้มสายชูใช้แล้วหรือซื้อไว้แต่ยังไม่ได้ใช้หรือไม่ เพราะน้ำส้มสายชูคู่ครัวมีคุณสมบัติที่สามารถช่วยขจัดกลิ่นอับได้ เพียงแค่นำน้ำส้มสายชูใส่ในภาชนะ เช่น แก้วน้ำหรือจานชาม และตั้งทิ้งไว้ในห้อง กลิ่นอับในห้องจะค่อยๆลดลงและหมดไปได้

นอกจากนั้น เรายังสามารถใช้ผงฟูที่เป็นส่วนประกอบช่วยให้ขนมปังพองฟูเป็นก้อนนำใส่จานและวางไว้ในห้อง เพื่อให้ผงฟูช่วยดูดซับกลิ่นทำให้ห้องปราศจากกลิ่นอับได้ รวมถึงการนำขนมปังขาวเทใส่ชามและน้ำส้มสายชู เพื่อนำไปวางทิ้งไว้ในตู้เสื้อผ้าที่มีกลิ่นประมาณ 24 ชั่วโมง เพื่อช่วยกำจัดกลิ่นในตู้เสื้อผ้า

ส่วนปัญหาเรื่องกลิ่นรองเท้าที่ทำให้บรรยากาศบ้านไม่สุนทรีย์ เราสามารถใช้เบคกิ้งโซดาโรยในรองเท้า และนำรองเท้าใส่ถุงพลาสติกผูกให้แน่น โดยนำไปแช่ช่องแข็งในตู้เย็นทิ้งไว้ประมาณ 1-2 คืน ก่อนจะนำรองเท้าทิ้งไว้ในอุณหภูมิห้องและเทผงเบคกิ้งโซดาทิ้ง โดยใช้กระดาษหนังสือพิมพ์อัดเข้าไปในรองเท้า เพื่อให้หมึกพิมพ์ช่วยดูดกลิ่นในรองเท้าได้อย่างมั่นใจยิ่งขึ้น

น้ำส้มสายชู
ถ้ายังไม่หายจากข้อที่ 1 เรามาวิธีเบสิกกันอีก คือการนำ น้ำส้มสายชู ใส่ภาชนะแล้วนำไปวางไว้ในมุมที่อับชื้น หรือมีกลิ่น อย่างตู้เสื้อผ้า ตู้รองเท้า ห้องน้ำ เป็นต้น เชื่อมั้ยเพียงข้ามคืน กลิ่นเหม็น กลิ่นอับ กลิ่นบุหรี่ และกลิ่นไม่พึงประสงค์จะหายไป

ใบฝรั่งบด
พูดแล้วอาจงงๆ แต่กรรมวิธีไม่ยากเย็นแต่อย่างใด เพียงแค่เราหา ใบฝรั่ง มา แล้วทำการบดหรือปั่นผสมกับน้ำนิดหน่อย เพื่อแยกกากของใบฝรั่ง ออกกับน้ำใบฝรั่ง จากนั้นนำน้ำใบฝรั่งใส่ภาชนะแล้วนำไปวางทิ้งไว้ในห้อง 1 คืน เชื่อมั้ย? น้ำมันหอมละเหยจากน้ำใบฝรั่ง จะช่วยขจัดกลิ่นอับภายในห้องของเราได้

ใบเตย
เมื่อกลิ่นที่ชวนปวดหัวหายไป แต่เรายังไม่สาแก่ใจ ให้นำ ใบเตย มาหั่นเป็นชิ้นๆ ให้ยาวประมาณ 1 นิ้ว นำใส่ภาชนะตั้งทิ้งไว้กลางห้อง เพื่อให้ใบเตยทำหน้าที่ดูดกลิ่นไม่พึงประสงค์ และแทนที่ด้วยกลิ่นหอมอ่อนๆ ของใบเตย แหม่…คุณเอ๋ย ลองเลย วิธีง่ายและถูกแบนี้ ได้ผลจริงๆ นะ

ผงฟู
หาไม่ยาก ผงฟู ห้องสรรพสินค้า ซุปเปอร์มาเก็ต ร้านสะดวกซื้อมีหมด ราคาไม่แพง ไปซื้อมาด่วนๆ เทใส่ถ้วยในปริมาณพอเหมาะ แล้วก็หยิบไปวางไปตั้งตรงไหนก็ได้ของห้อง หรือจะมุมอับไปเลยยิ่งดี ผงฟูจะช่วยกำจัดกลิ่นเหม็นกลิ่นอับให้ห้องคุณอย่างแน่นอน

น้ำหอมปรับอากาศ
กลิ่นเหม็นๆ หายไป แทนที่ด้วยกลิ่นหอมๆ อย่าง น้ำหอมปรับอากาศ ชอบกลิ่นไหน เลือกเอาให้ถูกใจ ก่อนนำมาปรุงแต่งฉีดละเลงไปทั่วห้อง

จากห้องที่เคยอับเคยเหม็น ก็จะกลายเป็นวิมานบนสรวงสวรรค์ในพริบตา อบรมนายหน้าอสังหาฟรี ลองเอาข้อแนะนำที่เราบอกวันนี้ไปปรับใช้กันนะคะ หวังว่าบ้านของคุณทุกคนคงจะมีบรรยากาศที่ดีขึ้นแน่ๆ..

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *