หากไม่คิดที่จะเริ่มต้นจึงยากที่จะรู้จักความสำเร็จ สัมมนานายหน้าอสังหา ประโยคใช้ได้จริงกับธุรกิจในปัจจุบัน
แม้ว่าจะต้องผ่านความล้มเหลวครั้งแล้วครั้งเล่า สัมมนานายหน้าอสังหา ผ่านความผิดหวังหลายต่อหลายหน แต่การเป็นผู้ประกอบการที่ดีและประสบความสำเร็จจะมีลักษณะร่วมที่เหมือนๆ กันหลายอย่าง
กระหายความสำเร็จ
ต้องมีคาวามรู้สึกต้องการอย่างแรงกล้าในการทำธุรกิจ หรือต้องการประสบความสำเร็จในชีวิต ซึ่งถือเป็นหัวใจสำคัญ เนื่องจากหากไม่มีความต้องการนี้ ก็จะไม่มีแรงผลักดันให้ผู้ประกอบการลุกขึ้นมาดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย
ชอบเสี่ยง
“ธุรกิจ” กับ “ความเสี่ยง” เป็นของที่คู่กัน ผู้ประกอบการจะทราบดีว่าควรจะเสี่ยงมากน้อยแค่ไหน ถ้าความเสี่ยงในการทำธุรกิจต่ำเกิน 50% ก็ไม่สามารถเป็นผู้ประกอบการที่ดีได้ แต่ความเสี่ยงที่เกิน 80-90% ก็ไม่ใช่เรื่องที่ดี เพราะอาจผิดพลาดได้
ทางที่ดีควรมีความเสี่ยงอยู่ในระดับปานกลาง คือมีโอกาสประสบความสำเร็จหรือล้มเหลว ความเสี่ยงระดับนี้จะไม่เกินความสามารถของผู้ประกอบการที่จะทำให้บรรลุผลสำเร็จ หากได้มีการวางแผนการทำงานที่ถูกต้องและประเมินความเป็นไปได้แล้ว
สร้างสรรค์เพื่อสร้างฝันให้กับองณ์กร ขายที่ดินเพื่อการลงทุน
การมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หรือมีจิตนาการที่ไม่เหมือนคนอื่น ผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จนั้น ต้องเป็นความคิดสร้างสรรค์ที่อยู่ในกรอบที่ผู้ประกอบการสามารถนำไปปฏิบัติได้จริงด้วย
มีแนวคิดมีความฝันในการประกอบธุรกิจที่ยิ่งใหญ่ สามารถมองจากจุดเล็กๆ แล้วสานฝันให้สามารถขยายเป็นกิจการใหญ่โตได้ (เริ่มจากก้าวเล็กแล้วค่อยใหญ่ขึ้น) ในขณะที่บุคคลทั่วไปจะมองเพียงบางส่วนเท่านั้น
ไม่ยอมแพ้
กล้าเผชิญกับอุปสรรคนานาประการ ที่ถาโถมเข้ามาอย่างต่อเนื่อง ไม่ล้มเลิกอะไรง่าย ๆ และทุกคนล้วนเคยล้มเหลวมาก่อน หรือผิดพลาดมาแล้วทั้งนั้น แต่ความผิดพลาดหรือความล้มเหลวต้องทำให้เป้าหมายเปลี่ยนแปลงไป เพราะความล้มเหลวหลายต่อหลายครั้งที่เกิดขึ้น ผู้ที่แข็งแกร่งเท่านั้นจึงจะเป็นผู้อยู่รอด
เป็นผู้ประกอบการที่ดี ต้องมีความรักในงาน
มีความเชื่อมั่นในความสามารถ และแนวคิดในการทำเนินธุรกิจของตัวเอง แม้ว่าในระหว่างของการก่อร่างสร้างตัวนั้น บุคคลรอบข้าง จะไม่เชื่อมั่นในตัวเราก็ตาม ผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ จะต้องเชื่อมั่นว่า เขาสามารถทำได้สำเร็จในงานอะไรก็ตามที่เขาตั้งใจหรือกำหนดไว้ว่าจะทำ
กล้าตัดสินใจ ความสามารถในการตัดสินใจของคนเราไม่กัน และผู้ประกอบการก็ต้องมีความสามารถในการตัดสินใจที่แตกต่างและโดดเด่นจากคนอื่น โดยเฉพาะการตัดสินใจในภาวะวิกฤติว่าควรจะดำเนินการกับธุรกิจหรือในชีวิตของตนเองแต่อย่างไร
เพราะความสำเร็จหรือความล้มเหลวที่เกิดขึ้น ล้วนมาจากการตัดสินใจของตนเอง ผลของการตัดสินใจ แม้ว่าจะผิดหรือจะถูกก็เป็นเรื่องที่ผู้ประกอบการทุกคนต้องยอมรับให้ได้
กล้าคิดว่าการเปลี่ยนแปลงถือเป็นโอกาศ
ผู้ประกอบการจะมองว่า การเปลี่ยนแปลงเป็นเรื่องปกติ ต่างจากคนทั่วไปที่มองว่าการเปลี่ยนแปลงคือ หายนะ เพราะมันสามารถพลิกชีวิตคนคนหนึ่งจากเคยมีชีวิตที่สุขสบายให้กลายเป็นยาจกได้ในพริบตา แต่สำหรับมุมมองของผู้ประกอบการ การเปลี่ยนแปลงถือเป็นโอกาสเป็นจุดเริ่มต้นของสิ่งใหม่ ๆ การใช้ประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงไม่ว่าจะเป็นด้านเทคโนโลยี การเปลี่ยนแปลงทางกฎหมายหรือพฤติกรรมของคน คือหัวใจสำคัญของการสร้างนวัตกรรมใหม่ ๆ
อดทนต่อความไม่แน่นอน
ผู้ประกอบการต้องพร้อมที่จะเผชิญกับสิ่งไม่คาดฝันที่จะเกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาทั้งด้านดีและด้านเลวร้าย ไม่ว่าจะเป็น ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สภาพภูมิอากาศ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค ซึ่งล้วนเป็นปัจจัยที่มีผลต่อธุรกิจ ผู้ประกอบการควรจะรู้ว่าสถานการณ์แบบนี้จะไม่มีควรเร่งรีบตัดสินใจทำอะไรมากนัก ควรอดทนเพื่อที่จะรอคอยสิ่งที่ดีที่สุด
มีความมุ่งมั่น
ผู้ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ มักมีความคิดริเริ่มในสถานการณ์ที่บุคคลอื่นไม่สามารถทำได้คนทั่วไปหลายคนมีแนวคิดที่ดี แต่ขาดความมุ่งมั่นที่จะทำให้สำเร็จ ผู้ประกอบการที่ดีจึงควรทำตามแนวคิดที่ตนเองมี และเริ่มต้นทำตามแนวคิดที่วางไว้ เมื่อมีโอกาสที่เหมาะสมควรเริ่มต้นทันที โอกาสแห่งความสำเร็จย่อมมีมากกว่าการไม่ลงมือทำอะไรเลย
เวลามีความสำคัญ
ผู้ประกอบการที่ดีจะให้ความสำคัญกับเวลาสูงมาก เพราะเวลาสามารถสร้างผลตอบแทนคุ้มค่า เพียงแค่ขยันมากขึ้น หรือเหนื่อยเพิ่มขึ้นเท่านั้น ไม่ว่าจะเป็นการตื่นเช้าหรือเข้านอนช้ากว่าคนทั่วไป
ปฎิบัติตามที่แอดมิน บริษัทนายหน้าขายบ้านและที่ดิน บอกดูซักหน่อยก็ไม่น่าจะเสียหายเนอะ หากอย่างเป็นผู้ประกอบการที่มีศักยาภาพที่เพียบพร้อมจริงๆ ลองนำไปปรับใช้ดูนะคะ
สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง
* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *