สวัสดีคับวันพวกเราชาวเว็บ การเป็นนายหน้าขายที่ดิน จะมาบอกเกี่ยวกับเรื่องต้นไม้มงคลและไม่มงคลที่จะแนะนำให้ปลูกไว้ในบ้านได้หรือไม่ได้เพื่อรับพลังงานดีๆ แต่วิทยาการความรู้ทางสถาปัตยกรรมนั้นมีหลายสำนัก
ตามหลักตำราและวัฒนธรรมของชาวจีนที่สืบทอดกันมานานก็มีตำราหลักฮวงจุ้ยให้เรายึดถือ ส่วนทางฝั่งอินเดียก็มีตำราศาสตรา ซึ่งเป็นศาสตร์ที่ให้ความรู้เกี่ยวกับเรื่องความเป็นอยู่ที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม เพื่อนำพลังที่ดีเข้าสู่ชีวิต แต่เมื่อเรารู้แล้วว่ามีต้นไม้อะไรที่เป็นมงคลช่วยเพิ่มพลังไปแล้ว วันนี้เว็บ การเป็นนายหน้าขายที่ดิน จะมาแนะนำให้ รู้จักต้นไม้อัปมงคล 8 ชนิดที่ไม่แนะนำให้มีไว้ในบ้านมีอะไรกันบ้างเรามาดูกัน
1.กระถิน
ถือเป็นต้นไม้มีหนามอีกชนิดหนึ่ง จึงไม่ควรปลูก เพราะอาจทำให้เกิดการมีปากเสียงกันในบ้านได้
2.มะขามและไมร์เทิล
(ภาษาอินเดียคือ Imli และ Mehandi) มีความเชื่อว่าต้นไม้ทั้งสองนี้ มีวิญญาณร้ายสิงสถิตอยู่ ดังนั้นควรระวังไม่ให้อยู่ใกล้ตัวบ้าน
3.ต้นไม้มีหนาม
(ยกเว้นดอกกุหลาบ) สำหรับกระบองเพชรบางตำราก็เชื่อว่าเป็นต้นไม้แนะนำให้ปลูก แต่บางตำราก็บอกว่าไม่ควรปลูกเพราะถือเป็นต้นไม้อัปมงคล
4.ต้นไม้สูงใหญ่ทางฝั่งตะวันออก
ไม่ควรมีต้นไม้ใหญ่ทางทิศตะวันออก รวมถึงทิศตะวันออกเฉียงเหนือของบ้าน เพราะจะนำพลังที่ไม่ดีมาสู่ตัวบ้าน
5.ต้นไม้ที่ตายแล้ว
อย่าเก็บต้นไม้ที่ตายแล้วหรือใกล้เฉาตายไว้ภายในบ้าน แม้แต่ดอกไม้ที่เหี่ยวแล้วก็ไม่ควร เพราะเชื่อว่าจะนำสิ่งร้ายมาให้
6.ปลูกต้นไม้กระถางไว้ทางทิศเหนือ
ไม่ว่าจะกระถางเล็กหรือกระถางใหญ่ ก็ไม่ควรปลูกไว้ทางผนังฝั่งทิศเหนือและทิศตะวันออกของบ้าน
7.บอนไซ วาสตุศาสตรา
เชื่อว่า ไม่ควรเลี้ยงต้นไม้ที่ให้ดอกสีแดง รวมถึงบอนไซไว้ในบ้าน แต่หากคุณต้องการจะปลูก ก็สามารถตั้งไว้ได้ในสวน หรือพื้นที่โล่งนอกตัวบ้าน
8.ต้นฝ้าย ต้นฝ้ายและปาล์มไมร่า
(ต้นปาล์มชนิดหนึ่ง) ก็ถือว่าเป็นไม้อัปมงคลที่ไม่ควรปลูกไว้ที่บ้านเช่นเดียวกัน
ทั้งนี้ทั้งนั้นเรื่องราวเหล่านี้เป็นความเชื่อส่วนบุคคล แต่ก็มีลักษณะบางชนิดของต้นไม้ที่หากไม่นับว่าเป็นเรื่องฮวงจุ้ยเราก็ไม่ควรเก็บไว้อยู่แล้วเช่นต้นไม้ที่ตายแล้ว หรือดอกไม้เหี่ยวเฉา เพราะเพียงแค่มองก็ทำให้รู้สึกไม่สบายตา สบายใจอยู่แล้ว
สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง
* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *