สภาพอากาศที่ทวีคูณความร้อนขึ้นทุกวันโดยที้งนี้ทีม สัมมนานายหน้า เป็นเหตุที่ทำให้ผู้อยู่อาศัยต่างหาวิธีการที่จะทำให้บ้านเย็นมากขึ้น โดยส่วนใหญ่มักจะจัดการกับปัญหาด้วยวิธีการติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ซึ่งผลลัพธ์ที่ตามมาก็มีอีกสารพันปัญหา ไม่ว่าจะเป็นค่าไฟที่เพิ่มสูงขึ้น อีกทั้งความร้อนจากการทำงานของเครื่องได้ส่งผลให้อากาศโดยรอบบ้านร้อนขึ้น โลกก็ยิ่งร้อนมากขึ้นไปอีก
นับเป็นห่วงโซ่ปัญหาที่มีแต่จะทำให้สถานการณ์แย่ลง ดังนั้น “ตราช้าง” ในฐานะผู้นำนวัตกรรมวัสดุก่อสร้าง จึงได้ออกมาแนะนำเคล็ดลับดีๆ ที่เจ้าของบ้านหลายท่านอาจยังไม่เคยรู้มาก่อน เพื่อเตรียมรับมือกับอากาศร้อน ด้วยวิธีที่ทั้งเป็นมิตร
ต่อสิ่งแวดล้อม โดยทีม สัมมนานายหน้า และยังช่วยประหยัดเงินในกระเป๋าได้ในระยะยาว
สัญชัย ขนาน ผู้จัดการส่วนบริหารโซลูชั่น บริษัท เอสซีจี เน็ตเวิร์ค แมเนจเม้นท์ จำกัด มาร่วมเผยเคล็ดลับบ้านเย็น โดยเริ่มจาก
“ศึกษาทิศแดดทางลม”
สำหรับเจ้าของบ้านสร้างใหม่ ก่อนสร้างบ้านควรศึกษาเรื่องทิศทาง และวางผังบ้านให้ตรงกับหลักการ โดยบริเวณหน้าบ้าน ห้องรับแขก หรือห้องนอน ไม่ควรหันหน้าไปในทิศตะวันตก เพราะจะทำให้พื้นที่นั้นรับแดดตลอดช่วงบ่าย และวนเวียนอยู่ภายในจนถึงกลางคืน ทำให้บ้านร้อน ถ้าเป็นไปได้ควรหันหน้าบ้านไปทางทิศใต้ จะสามารถรับลมได้ดีถึง 8 เดือน ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ – ตุลาคม ส่วนทิศเหนือจะรับลมได้เพียง 3 เดือนที่เหลือเท่านั้น และควรทำหน้าต่างแบบบานเปิด ซึ่งสามารถรับลมได้กว่าหน้าต่างแบบบานเปิดออก หรือบานเกล็ด
ศึกษาทิศแดดทางลมก่อนการสร้างบ้าน
“เลือกใช้วัสดุที่ช่วยป้องกันและสะท้อนความร้อนได้จริง”
70% ของความร้อนภายในบ้านมาจากหลังคา ดังนั้นจึงไม่ควรเสียดายเงินในการวางระบบและเลือกซื้อวัสดุที่ดีที่จะช่วยป้องกันความร้อนที่ไหลมาทางหลังคา บ้านใหม่ควรให้ความสำคัญกับการติดตั้งแผ่นสะท้อนความร้อนใต้หลังคาป้องกันความร้อนที่สามารถติดตั้งได้ในบ้านสร้างใหม่เท่านั้น ส่วนบ้านเก่าสามารถป้องกันความร้อนจากหลังคาด้วยการปูฉนวนกันความร้อนบนฝ้าเพดาน การติดตั้งฉนวนกันความร้อนจะช่วยป้องกันความร้อนจากโถงหลังคาไม่ให้เข้าสู่ตัวบ้านใช้ได้ทั้งบ้านเก่า และบ้านสร้างใหม่ ข้อแนะนำสำคัญคือ หลังคาทรงจั่วจะสามารถระบายความร้อนได้ดีกว่าหลังคาทรงแบน หรือหลังคาดาดฟ้า ที่กำลังเป็นที่นิยมในปัจจุบัน
เลือกใช้วัสดุที่ช่วยป้องกันและสะท้อนความร้อนได้จริง
“รู้จักเลือกนวัตกรรมที่สามารถช่วยลดความร้อนรอบบ้าน”
บริเวณพื้นรอบบ้าน สามารถใช้บล็อกปูพื้น Cool Plus แทนการเทพื้นด้วยซิเมนต์ ซึ่งผิวด้านบนของ Cool Plus นั้นจะช่วยดูดซับน้ำ และกักเก็บน้ำไว้ในตัวก้อน เมื่อมีความร้อนหรือแสงแดดมากระทบที่ตัวก้อน จะทำให้น้ำที่กักเก็บไว้ในตัวก้อน ค่อยๆ ระเหยกลายเป็นไอออกมาช่วยให้อุณหภูมิโดยรอบลดลงและรู้สึกเย็นสบาย ข้อแนะนำคือ ควรปูบล็อก Cool Plus โดยใช้พื้นที่ขั้นต่ำประมาณ 25 ตารางเมตรจากจุดศูนย์กลาง และโรยทรายบริเวณขอบทั้ง 4 ด้านที่เป็นรอยต่อระหว่างบล็อก เพื่อลดการกระแทก
รู้จักเลือกนวัตกรรมที่สามารถช่วยลดความร้อนรอบบ้าน
“จัดสวน แต่งระแนงไม้ ช่วยให้เย็นกายเย็นใจ”
นอกจากการปรับที่เกี่ยวกับโครงสร้างที่ตัวบ้านแล้ว เจ้าของบ้านยังสามารถปรับบริเวณภายนอกบ้าน ด้วยการต่อไม้ระแนงขึ้นจากรั้วในทิศที่แดดส่อง หรือปลูกต้นไม้ขนาดใหญ่ ที่นอกจากจะให้ความสวยงามแล้ว ยังช่วยสร้างร่มเงาตกกระทบ และช่วยลดอุณหภูมิภายในบ้าน ทั้งยังช่วยเพิ่มอากาศบริสุทธิ์จากออกซิเจนที่ไหลเวียนรอบบ้าน การทำสวนแนวตั้ง การทำน้ำตก น้ำพุ จะช่วยทำให้บ้านเย็นขึ้น
จัดส่วน แต่งระแนงไม้ ช่วยให้เย็นกายเย็นใจ
“ทาวน์เฮ้าส์ หรือคอนโดมิเนียมก็เย็นได้”
ไม่ใช่แค่กลุ่มเจ้าของบ้านเท่านั้นที่มีสิทธิ์ลดความร้อนให้ที่อยู่อาศัย รู้หรือไม่ว่าคุณก็สามารถลดดีกรีความร้อนให้ทาวน์เฮ้าส์ คอนโดมิเนียม หรืออพาร์ทเม้นท์ได้เช่นกัน โดยมีทีม นายหน้าอิสระ อสังหา ด้วยการป้องกันความร้อนที่มาจากหลังคา ด้วยการปูฉนวนกันความร้อนบนฝ้าเพดาน ในกรณีที่ต้องการป้องกันความร้อนจากด้านข้างสามารถเสริมฉนวนกันความร้อนได้ บริเวณผนังห้อง ด้วยระบบผนังเบาที่ทำเสริมผนังเดิมออกมา
ทาวน์เฮาส์ หรือคอนโดมิเนียมก็เย็นได้
สิ่งสำคัญที่ไม่ควรลืมนอกจากจะลดอุณหภูมิให้แก่บ้านแล้ว ควรคำนึงถึงการช่วยลดอุณหภูมิให้แก่โลกของเราด้วย เพียงเลือกใช้วัสดุที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยทีม นายหน้าอิสระ อสังหา ซึ่งเคล็ดลับเหล่านี้เป็นวิธีที่สามารถทำได้ไม่ยาก ทั้งเจ้าของบ้านที่ต้องการนำไปปรับใช้กับบ้านด้วยตัวเอง หรือสำหรับเจ้าของบ้านที่กำลังจะสร้างบ้านใหม่ เพื่อให้การอยู่บ้านในช่วงหน้าร้อนไม่ต้องทรมานอย่างที่เคยเป็นมา
สัมมนานายหน้า
สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง
* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *