เว็บ คอร์สนายหน้าอสังหา แนะนำ ชนิดของกระเบื้อง และ  ประเภทของ กระเบื้อง แบบไหนใช้อย่างไร

เว็บ คอร์สนายหน้าอสังหา แนะนำ ชนิดของกระเบื้อง และ  ประเภทของ กระเบื้อง แบบไหนใช้อย่างไร

สวัสดีทุกท่านวันนี้เรากลับมาพบกันอีกครั้งกับเว็บ คอร์สนายหน้าอสังหา ในวันนี้เรามีเรื่องราวดีดีเกี่ยวกับกระเบื้องมาให้ทุกท่านได้ลองอ่านกัน

การเลือกซื้อกระเบื้องนอกจากการเลือกกระเบื้องที่มีลวดลายสวยงามแล้ว อีกหนึ่งสิ่งที่ทาง คอร์สนายหน้าอสังหา คิดว่า สำคัญไม่แพ้กันก็คือการเลือกกระเบื้องที่มีคุณสมบัติตามที่เราต้องการ

โดยการเลือกซื้อกระเบื้องนั้น ควรจะเลือกใช้กระเบื้องที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับสถานที่ที่จะนำไปติดตั้ง ไม่ว่าจะเป็นห้องน้ำหรือห้องนอน หรือ พื้นหน้าบ้าน และ แน่นอนว่าการที่เราจะเลือกได้อย่างถูกต้องนั้น เราจะต้องรู้จักชนิดกระเบื้องและเข้าใจประเภทกระเบื้องแบบต่างๆเสียก่อนว่ากระเบื้องแต่ละชนิดมีคุณสมบัติอย่างไร เหมาะกับการใช้งานรูปแบบไหน เมื่อรู้จักชนิดของกระเบื้องแล้วก็จะทำให้เราสามารถเลือกซื้อกระเบื้องที่ถูกต้องกับห้องที่เราจะนำไปติดตั้งได้

คอร์สนายหน้าอสังหา

การเลือกกระเบื้องที่ผิดประเภทจะสร้างปัญหา เมื่อติดตั้งกระเบื้องที่ผิดกับจุดประสงค์ของงานจะสร้างปัญหาตามมาในภายหลังได้มาก ส่วนใหญ่แล้วปัญหาของการเลือกกระเบื้องผิดก็มาจากการที่ไม่รู้จักชนิดกระเบื้องและประเภทกระเบื้องเป็นอย่างดีเพียงพอ จึงทำให้ซื้อไม่ถูก เลือกผิด และติดตั้งกระเบื้องที่มีคุณสมบัติไม่ตรงกับลักษณะการใช้งาน ทำให้ต้องมีการซ่อมแซมในเวลาต่อมา การแก้ไขในบางครั้งอาจจะทำให้เราต้องรื้อกระเบื้องทั้งหมดออกมาปูใหม่ ซึ่งจะทำให้เสียทั้งเวลาและค่าใช้จ่ายเป็นอย่างมาก

ดังนั้นวิธีการที่ดีที่สุดก็คือการเลือกกระเบื้องที่ถูกต้องตั้งแต่แรก ซึ่งคุณจะต้องรู้จักชนิดของกระเบื้องและเข้าใจประเภทของกระเบื้องแบบต่างๆเสียก่อน

รู้จักชนิดกระเบื้อง ประเภทกระเบื้อง

ก่อนจะเลือกใช้กระเบื้องในการสร้างหรือตกแต่งบ้านนั้น เราต้องมารู้จักประเภทต่างๆ ของกระเบื้องกันก่อน โดย กระเบื้องปูพื้นนั้นแบ่งออกเป็นหลายประเภทตามวัสดุและกระบวนการที่ใช้ในการผลิต ไม่ว่าจะเป็น หินต่างๆ หรือ ปูน หรือ อื่นๆ และใน การเลือกซื้อกระเบื้องปูพื้นอาจจะจะกลายเป็นงานยากและเกิดความสับสนได้ถ้าหากว่าผู้ซื้อไม่รู้จักกระเบื้องชนิดต่างๆว่าคืออะไร มีข้อดีอย่างไร และเหมาะในการใช้ปูพื้นแบบไหน

เพื่อไม่ให้เกิดความสับสน ทางเราจึงอยากทำให้การเลือกซื้อกระเบื้องปูพื้นของคุณเป็นเรื่องที่ง่ายขึ้น ในบทความนี้เราจะไปรู้จักชนิดกระเบื้องปูพื้นแบบต่างๆกันว่าแต่ละแบบมีลักษณะอย่างไร มีจุดเด่นอย่างไร และเหมาะกับการติดตั้งในงานแบบไหน

กระเบื้องปูพื้นจะแบ่งตามวัสดุที่ใช้ในการผลิตแบ่งเป็นกลุ่มใหญ่ๆดังต่อไปนี้

1.กระเบื้องแบบเซรามิค

2.กระเบื้องโมเสค

3.กระเบื้องแกรนิตโต้

4.กระเบื้องหินอ่อน

5.กระเบื้องแบบดินเผา

6.กระเบื้องแก้ว

ทั้งหมดนี้เป็น 6 ประเภทที่นำมาจัดเป็นกลุ่มใหญ่ๆของกระเบื้องปูพื้นโดยการจำแนกจากวัสดุและกระบวนการผลิตที่ผลิตขึ้นมาเป็นประเภทกระเบื้องแบบต่างๆ

เมื่อเข้าใจประเภทต่างๆของกระเบื้องปูพื้นที่อยู่ในบทความนี้แล้ว รู้ว่าแต่ละประเภทมีข้อดีข้อเสียแตกต่างกันอย่างไร รู้ว่าควรจะใช้งานกระเบื้องประเภทไหนในสถานการณ์แบบไหน

ก็จะทำให้สามารถเลือกซื้อกระเบื้องปูพื้นที่เหมาะสมกับลักษณะในการใช้งานได้ เพราะอย่างที่ได้บอกเอาไว้ก่อนหน้านี้ถ้าหากเลือกซื้อชนิดกระเบื้องที่ผิดกับงานก็อาจจะทำให้ต้องเสียเงินเวลาและเงินจำนวนมากในการแก้ไข

กระเบื้องบางแผ่นเวลารื้อออกมาจากแล้วอาจจะเสียหายได้ ทำให้ไม่สามารถนำกลับไปติดซ้ำได้อีก จึงต้องระวังให้ดี วิธีการหนึ่งที่จะตัดปัญหาตั้งแต่ต้นก็คือการศึกษาประเภทกระเบื้องให้ถ่องแท้ตั้งแต่แรก จะได้ไม่เกิดปัญหาตามมาในภายหลัง

จะเห็นได้ว่า จากที่เรากล่าว ไปตอนต้นว่า การจะเลือกกระเบื้องมาใช้งานนั้นจะต้องรู้ถึงคุณสมบัติของมันกันก่อน เพื่อที่จะสามารถเลือกใช้กระเบื้องแบบต่างๆ ได้ตรงตามความเหมาะสมของมัน ไม่ใช่ว่า จะใช้อันไหนก็เช่น ถ้าเอากระเบื้องปูผนังมาใช้ปูพื้นก็คงจะไม่ได้

ดังนั้นการจะเลือกใช้ กระเบื้อง นั้นจึงต้องควรจะรู้คร่าวๆ ก่อนว่าแต่ล่ะแบบนั้น มีคุณสมบัติแบบไหน ออกแบบมาเพื่อใช้กับห้องอะไร ห้องน้ำ ห้องทั่วๆไป ห้องนอน ห้องครัว หรือ ออกแบบมาใช้กับ พื้นหรือผนัง เป็นต้น และในตอนหน้า ทางเว็บ อบรมนายหน้าอสังหาริมทรัพย์ จะพาไปดูรายละเอียดของกระเบื้องแต่ละชนิดเพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องในการเลือกซื้อกระเบื้องกัน

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *