ไอเดียของทีม สัมมนานายหน้า  เป็นแรงบันดาลใจและรูปภาพการออกแบบตกแต่งภายใน

ไอเดียของทีม สัมมนานายหน้า  เป็นแรงบันดาลใจและรูปภาพการออกแบบตกแต่งภายใน

ประตูบานเลื่อน

รูปแบบของทีม  สัมมนานายหน้า  ของประตูในตลาดวัสดุก่อสร้างและตกแต่งบ้านในปัจจุบันมีให้เลือกอย่างหลากหลาย เพื่อขานรับความต้องการของผู้อยู่อาศัยและสไตล์การออกแบบบ้านให้เกิดการสอดรับด้วยความสมดุล และหนึ่งในประตูที่ได้รับความสนใจอย่างแพร่หลาย เรียกได้ว่าเป็นหนึ่งประตูยอดฮิตสำหรับการออกแบบและตกแต่งบ้านในยุคนี้ คือ ประตูบานเลื่อน หรือ ทีม สัมมนานายหน้า   ซึ่งประตูแบบดังกล่าวโดดเด่นในหลายมิติ ทั้งในแง่ของความสวยงาม สะดวกสบาย ปลอดภัย ราคาไม่สูง และที่สำคัญใช้เนื้อที่ในการติดตั้งเพียงน้อยนิด พร้อมตอบโจทย์อสังหาริมทรัพย์ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็น บ้าน อาคาร รวมทั้งห้างสรรพสินค้า แม้กระทั่งกับบ้านเองก็เหมาะกับประตูในส่วนต่างๆของบ้าน อย่างประตูระเบียง ประตูภายในบ้าน ประตูครัวที่ปิดกั้นกลิ่นและควัน และอีกหลายประตู

ชนิดของประตูบานเลื่อน

ประตูบานเลื่อนในปัจจุบันแบ่งรูปแบบการใช้งานตามกลไกการเปิด-ปิด ออกเป็น 3 ประเภทหลักๆ คือ 1.แบบบานเลื่อนข้างเดียว (Fixed-Slide) ซึ่งการใช้งานของบานเลื่อนแบบนี้จะปิดตายหนึ่งข้างและสามารถกำหนดการเปิด-ปิด ได้หนึ่งช่องทางตามความถนัดของผู้อยู่อาศัย 2.แบบบานเลื่อนสลับ (Slide-Slide) สำหรับบานเลื่อนแบบนี้มีความยืดหยุ่นและสะดวกสบายสูงสามารถเปิด-ปิดได้ทั้งซ้ายและขวาโดยมีแกนกลานเป็นแกนหลักในการยึดโครงสร้าง แต่จุดเสียของบานเลื่อนประเภทนี้คือชำรุดได้ง่ายกว่าเมื่อเทียบกับแบบบานเลื่อนข้างเดียว โดยเฉพาะรางเลื่อนและลูกล้อหากเปิดอย่างรุนแรง ที่สำคัญการทำความสะอาดและดูแลรักษาต้องใส่ใจมากกว่าประตูบานเลื่อนชนิดอื่น 3.แบบบานเลื่อนออกข้างคู่ (Fixed-Slide-Slide-Fixed) บานเลื่อนชนิดนี้ใช้กลการเปิด-ปิดในลักษณะแสกกลางโดยฝั่งซ้ายและฝั่งขวาจะต้องเปิดพร้อมกันด้วยความสมดุล สำหรับข้อเด่นของบานเลื่อนชนิดนี้ดูสวยงามทันสมัย และแข็งแรงทนทานเพราะต้องใช้บานประตูถึง 4 บาน ในทางกลับกันราคาก็สูงมากเช่นกัน เมื่อเทียบกับบานเลื่อนชนิดอื่นๆ

ข้อดีและข้อเสียของประตูบานเลื่อน

ประตูบานเลื่อนแม้ได้รับความสนใจอย่างมากก็จริง แต่ทว่าประตูในลักษณะนี้ก็มีข้อบกพร่องและจุดเด่นที่เป็นเอกลักษณ์อื่นๆอีกหลากหลายที่ใครๆหลายคนอาจจะยังไม่ทราบ โดยในส่วนของข้อดีนั้น เริ่มจากการใช้พื้นที่น้อยในการติดตั้งเมื่อเทียบกับประตูแบบอื่นที่ต้องใช้วงกบขนาดใหญ่ อย่างไรก็ดีประตูบานเลื่อนยังเด่นชัดในเรื่องความปลอดโปร่งเพราะการเปิด-ปิด แต่ละครั้ง จะเปิดทั้งบานทั้งบานทำให้อากาศภายในบ้านเกิดความถ่ายเทไปในตัว ทั้งนี้ประตูบานเลื่อนยังใช้งานง่ายมีกลไกที่ไม่ซับซ้อน ทำความสะอาดและบำรุงรักษาได้อย่างสะดวกสบาย ที่สำคัญราคาหรืองบประมาณของประตูแบบนี้มีราคาเริ่มต้นที่ถูก หาได้ง่ายตามท้องตลาด ด้านข้อเสียคือความเปราะบาง บานประตูในลักษณะนี้ไม่เหมาะที่จะอยู่ส่วนนอกหรือทางเข้าประตูแรกของบ้านเพราะในบางครั้งเจอกับแรงลมและพายุซึ่งประตูบานเลื่อนไม่สามารถทนทานและรับกับสภาพอากาศที่รุนแรง นอกจากนี้ยังแตกหักง่ายทั้งบานประตูและส่วนของวงกบเมื่อเทียบกับประตูแบบอื่น

ประตูบ้านเลื่อนควรนำมาตกแต่งภายในเพื่อเป็นฉากกั้นมุมห้องหรือประตูเปิด-ปิด ไปยังมุมห้องต่างๆภายในบ้าน รวมทั้งยังนิยมนำมาใช้ส่วนหลังของบ้านเพราะสามารถรับชมวิวทิวทัศน์จากสวนไม้หรือมุมพักผ่อนที่ต่อเติมได้อย่างคล่องตัว ไม่เพียงเท่านั้นประตูบานเลื่อนยังเหมาะแก่การสร้างพื้นที่ส่วนตัวภายในบ้าน อาทิ มุมทำงานหรืออ่านหนังสือ เพราะประตูดังกล่าวสามารถควบคุมโทนเสียงจากภายนอกไม่ให้เข้ามารบกวนภายในได้อย่างโดดเด่น

ด้านวัสดุก่อสร้างสำหรับประตูบานเลื่อนนั้นส่วนใหญ่ทำมาจากอลูมิเนียม ซึ่งโดดเด่นในเรื่องความสวยงามและยืดหยุ่นสูง โดยเฉพาะการนำล้อหรือรางเลื่อนมาติดตั้งทั้งส่วนล่างและส่วนบนสำหรับการเปิด-ปิด นั้นเอง สำหรับบานประตูส่วนใหญ่ใช้กระจกหลากหลายประเภทมาตกแต่งเพราะความบางของกระจกสอดรับกับวงกบของประตูได้อย่างเหมาะสม

กลไกการล็อคและเปิด-ปิด ที่สะดวกสบาย

นอกจากการเปิด-ปิด ของบานประตูแบบบานเลื่อนโดยใช้แรงมนุษย์อย่างเราๆด้วยระบบล็อคจุดเดียวหรือล็อคหลายจุดที่ติดตั้งอยู่บริเวณด้านข้างของบานประตูแล้วนั้น ประตูในลักษณะดังกล่าวถูกนำมาพัฒนาเพื่อยกระดับการใช้งานที่สะดวกสบายและปลอดภัยมากยิ่งขึ้น ยกตัวอย่างเช่น การติดตั้งระบบเปิด-ปิด อัตโนมัติโดยใช้ระบบเซ็นเซอร์ โดยเทคนิคดังกล่าวถูกนำไปใช้อย่างมากกับโมเดิร์นเทรดและห้างสรรพสินค้าของประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีระบบการจดจำรอยนิ้วมือซึ่งถูกนำไปใช้กับบ้านรวมทั้งสำนักงานในการเปิด-ปิด ประตู รวมทั้งการนำระบบคีย์การ์ดมาใช้ในรูปแบบการเปิด-ปิด สำหรับบ้านประเภทคอนโดมิเนียมของทีม นายหน้าอิสระ อสังหา  ซึ่งทั้งหมดเป็นกลไกสำคัญในการป้องกันความปลอดภัยสำหรับการอยู่อาศัยได้เป็นอย่างดี

ถือได้ว่าประตูบานเลื่อนเป็นหนึ่งชนิดประตูที่ประดิษฐ์ขึ้นเพื่อรองรับการติดตั้งระบบความปลอดภัยจากเทคโนโลยีและนวัตกรรมได้อย่างเหมาะสม

ตอบโจทย์การอยู่อาศัยยุคใหม่ได้อย่างตรงประเด็นที่มุ่งเน้นในเรื่องความทันสมัยในการพักอาศัยบนกรอบพื้นฐานความปลอดภัย

พื้นผิวและมุมห้องที่สามารถติดตั้งและตกแต่งประตูบานเลื่อน

ข้อสังเกตและควรรับทราบสำหรับการติดตั้งประตูบานเลื่อนอีกหนึ่งประเด็นคือ พื้นผิว ซึ่งประตูแบบดังกล่าวควรใช้งานกับพื้นผิวบ้านที่เรียบและดูเนียน อาทิ คอนกรีตสำเร็จรูป หิน หรือจะเป็นไม้ก็ได้ ในทางกลับกันไม่ควรใช้กับพื้นผิวที่เป็นดิน อิฐ เพราะวงกบจากอลูมิเนียมอาจไม่ยืดเกาะส่งผลให้โครงสร้างของประตูดูไม่แข็งแรงและอาจเกิดอันตรายสำหรับการอยู่อาศัยได้

ทั้งนี้ประตูบานเลื่อนไม่ควรติดตั้งไว้ส่วนหน้าหรือประตูแรกทางเข้าของบ้านอย่างที่ย้ำไว้เบื้องต้นเพราะประตูดังกล่าวมีความทนทานต่อสภาพอากาศภายนอกได้น้อย ฉะนั้นควรนำมาติดตั้งหรือตกแต่งภายในจะดูสอดรับและสวยงามอย่างสะดวกสบายกว่า

งบประมาณ

ทางทีม นายหน้าอิสระ อสังหา  เสนอในส่วนของราคาสำหรับประตูบานเลื่อนนั้นมีราคาไม่สูงเพราะใช้ต้นทุนและวัสดุที่ไม่มาก โดยเริ่มตั้งแต่หลักพันสำหรับบานประตูแบบบานเลื่อนข้างเดียวและบานประตูแบบบานเลื่อนสลับไปจนถึงหลักหมื่นกับบานประตูแบบแบบบานเลื่อนออกข้างคู่ ซึ่งทั้งหมดขึ้นอยู่กับเกรดอลูมิเนียมและบานกระจก รวมไปจนถึงกลไกการล็อค อย่างไรก็ดีสำหรับในประเทศไทยค่าประตูจะคิดรวมไปกับค่าแรงงาน ทำให้การเลือกใช้ประตูดังกล่าวเกิดความสะดวกสบาย ผู้อยู่อาศัยสามารถเข้าถึงได้ง่ายเพราะมีผู้ผลิตและตัวแทนจำหน่ายที่หลากหลาย ที่สำคัญการบริการหลังการขายโยเฉพาะมิติของซ่อมบำรุงก็ฉับไว จึงไม่น่าแปลกใจว่าทำไมทุกวันนี้ ประตูบานเลื่อนกลายเป็นทางเลือกอันดับหนึ่งในการออกแบบและตกแต่งบ้าน ลองปรึกษาผู้เชี่ยวชาญหรือช่างที่คุณไว้ใจในการเลือกหารูปแบบและประเภทประตูเลื่อนที่คุณถูกใจให้เหมาะกับบ้าน และการใช้งาน เพียงเท่านี้เรื่องประตูก็ไม่ยากอย่างที่คุณคิด

สัมมนานายหน้า

สามารถติดตามข่าวสารอื่นๆได้ที่ แฟนเพจ ต้องขายบ้านหลังนี้ให้ได้ หรือช่องยูทูป สมองอสังหา และ หน้าเว็บอย่างเป็นทางการ คอร์สลงทุนในบ้านมือสอง

* * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * * *